Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Placenta previa - Coggle Diagram
Placenta previa
การวินิจฉัย
-
-
-
-
-
กรณีศึกษา
-
มาฝากครรภ์อายุครรภ์ 18 สัปดาห์ ได้รับการตรวจ Ultrasound ผลเป็น Placenta anterior type maginal placenta previa
-
การพยาบาล
-
หลักการพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวทราบและเข้าใจถึงภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น แนวทางการรักษาพยาบาลที่จะได้รับและความจำเป็นจะต้องนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
ประเมินอาการผิดปกติอย่างใกล้ชิดเช่น อาการและอาการแสดงของภาวะช็อค การประเมินสัญญาณชีพ และการหดรัดตัวของมดลูก
-
-
-
-
-
-
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 1 ชั่วโมง และระวังไม่ต้องกดและคลำหน้าท้องมาก เพราะอาจกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว ทำให้รกฉีกขาดมากขึ้น
คำแนะนำที่สำคัญ
พักผ่อนและจำกัดกิจกรรม ควรนอนพักให้มากที่สุด งดการทำงานหนัก งดยกของหนัก งดเดินทางไกลเพื่อลดการกระทบกระเทือนทำให้เลือดออกซ้ำ
-
-
-
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น มีน้ำคร่ำและการมีภาวะรกเกาะต่ำ เช่น เจ็บครรภ์คลอด มีน้ำเดิน ทารกดิ้นน้อยลง ให้รีบมารพ.
-
ระยะหลังคลอด
ประเมินสัญญาณชีพหลังคลอด 15 นาที 4 ครั้ง 30 นาที 2 ครั้งและทุก 1 ช.ม. จนกว่าจะปกติ จากนั้นทุก 4 ช.ม. เพื่อประเมินภาวะตกเลือดหลังคลอด
-
-
-
ช่วยเหลือให้มีการปรับตัวในระยะหลังคลอดอย่างเหมาะสม ช่วยเหลือในการดูแลบุตรเพื่อลดความเครียดและกังวล ส่งเสริมการพักผ่อนให้เพียงพอ
-
-
ให้ข้อมูลสำหรับการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป ควรเว้นระยะการมีบุตรอย่างน้อย 1-2 ปี เพื่อให้ผนังมดลูกมีความเหมาะสมในการฝังตัวของไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้ว
สาเหตุ
-
-
มีก้อนเนื้อที่บริเวณส่วนบน หรือการเจริญที่ผิดปกติของเยื่อบุมดลูก ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการอักเสบหรือมีการเปลี่ยนแปลงในทางเสื่อมของเยื่อบุมดลูก
ปัจจัยเสี่ยง
-
-
กรณีศึกษา
ด้านมารดา
เคยได้รับการผ่าตัดคลอดครรภ์แฝดเมื่อปี 2552 ซึ่งอาจทำให้เกิดพังผืดหรือมีเนื้องอกในโพรงมดลูกหรือมดลูกมีการอักเสบภายในมดลูก ส่งผลให้การเกาะตัวของรกผิดปกติ
-
พยาธิสภาพ
ในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์นั้นผนังมดลูกส่วนล่างจะยืดออกและบางตัวลง ปากมดลูกอาจเริ่มมีการเปิดขยาย ทำให้มีการแยกตัวหรือลอกตัวบริเวณขอบรกจึงมีเลือดออกทางช่องคลอดให้ปรากฏ
-