Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลและการป้องกันระบบห่อหุ้มร่างกาย, นางสาวอรจิรา น้อยเสนา…
การพยาบาลและการป้องกันระบบห่อหุ้มร่างกาย
Wound คือ รอยแยก หรือช่องโหว่ที่เกิดขึ้นที่ชั้น epidermis ของผิวหนังอันอาจจะนำไปสู่ภาวะการติดเชื้อโรคหรือเชื้อโรคเข้าสู่กระแสเลือดได้
Wound classification
Acute wound : เกิดจาก mechanical force
Surgical wounds ได้แก่แผลที่เกิดจากการผ่าตัด
Traumatic wound
2.1 Abrasion เป็นการขูดหรือถลอกของผิวหนังชั้นตื้นๆ อาจจะแคบๆ เรียกว่ารอยข่วน (scratch) หรือเป็นบริเวณกว้าง เรียกว่า brush abrasion หรือถ้ากว้างมากเรียกว่า friction burn
2.2 Bruises/Contusions เกิดจากแรงกระแทกตั้งฉากกับผิวหนัง
2.3 Lacerations เป็นแผลที่มีการแยกหรือฉีกขาดของผิวหนังหลังจาก blunt trauma มักจะพบในบริเวณที่มีแข็งอยู่ใต้ผิวหนัง
2.4 Incised wounds เป็นแผลที่เกิดจากของมีคมตัด หรือกรีด
2.5 Gunshot wounds
Close contact gunshot wound
Contact gunshot wound
Intermediate gunshot wound
2.6 Avulsion wound ส่วนมากเป็นแผลที่เกิดจากแรงที่มากระทeอย่างรุนแรง เช่น ถูกรถชน เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม
2.7 Explosive wound บาดแผลถูกสะเก็ดระเบิดต่างๆ
2.8 Crush wound เช่นถูกรถทับ เครื่องจักรกลทับ หรือการบดขยี้ต่างๆ
Burn
Thermal burn
Electrical burn
Chronic wounds:เป็นแผลที่ไม่หายภายใน 6 สัปดาห์
4.Pressure Ulcers
มีสาเหตุเกิดจากการกดทับเป็นระยะเวลานานโดยมีแรงกดเฉลี่ย 32-มม.ปรอทขึ้นไป
ระดับที่ 1 เป็นรอยแดงของผิวหนัง
ระดับที่ 2 ผิวหนังกำพร้าถูกทำลาย/ฉีกขาด
ระดับที่ 3 มีการทำลายชั้นผิวหนังลึกลงไป แต่ไม่ถึงพังผืดหรือเอ็นยึดกล้ามเนื้อ
ระดับที่ 4 มีการทำลายผิวหนังลึกลงไปจนถึงชั้นกล้ามเนื้อ กระดูกหรือโครงสร้างของร่างกาย
Venous Leg Ulcer
1.Venous thrombosis and obstruction 2.Venous dilatation or varicosity
Arterial Ulcer
1.Acute: เกิดการอุดตันทันที เช่นการเกิด thrombosis
2.Chronic: เกิดการอุดตันอย่างค่อยเป็นค่อยไปทีละน้อย
Diabetic Ulcer
V: Vascular supply deficiency
I: Infection in deep compartment
P: Pressure downloading
Radiation Ulcer
ผลของ radiation ก่อให้เกิด chronic wound นั้นขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ความถี่และต าแหน่งที่
ได้รับ โดยพบว่าผลของ radiation
Factors That Impact Wound Healing
Intrinsic factors:
Tissue perfusion
การสูบบุหรี่ ทำให้การทำหน้าที่ของ hemoglobin ลดลง
Radiation ทำให้เกิดพังผืดและเกิดรอยแผลเป็น
0xygenation
Extrinsic factors:
Nutrition deficiencies
สภาวะของโรค
Steroid ขัดขวาง WBC
ยาอื่นๆ เช่น ยาฆ่าเซลล์มะเร็งทุกชนิด
อายุ คนสูงอายุแผลหายช้ากว่าวัยหนุ่มสาว
ภาวะเครียดของแผล
Wound Healing แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
Inflammation Phase เป็นระยะแรกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วใช้เวลาตั้งแต่แรกบาดเจ็บถึง 3 วัน
Proliferation/fibroblast Phase ระยะนี้เกิดขึ้นประมาณวันที่ 4-21 หลังเกิดแผล
เป็นการเข้าสู่ระยะที่ cells มีการแบ่งตัว และสร้างเนื้อเยื่อมาทดแทนส่วนที่ถูกท าลายไป
Maturation/Remodeling Phase เมื่อบาดแผลถูกปิดได้ส าเร็จแล้วร่างกายก็จะเข้าสู่ระยะปรับตัวเพื่อ
ปรับแต่งให้บาดแผลอยู่ในสภาพที่ใกล้เคียงเนื้อเยื่อเดิมมากที่สุด
Type of Wound Healing
Primary healing: แผลจะหายโดยการน าแผลที่เปิดอยู่ให้ปิดเป็นแผลปิดภายในระยะเวลาเป็นเพียงชั่วโมง
ภายหลังที่เกิดแผล ขอบแผลจะถูกน ามาให้ชนกัน
Delayed primary healing แผลที่มี Contamination หรือ แผลที่มีการตายของ tissue ยังไม่แน่ชัด จะ
ปล่อยแผลให้เปิดอยู่ 3-4 วัน
Secondary primary healing ในกรณีนี้ Open full thickness wound จะถูกปล่อยให้หายเอง ซึ่งแผลจะ หายโดย wound contraction และ epithelialization ในขั้นตอนของการหายของแผล myofibroblast จะปรากฎในแผลประมาณวันที่ 3 ภายหลังมีแผลเกิดขึ้น
Healing of partial thickness wounds Partial thickness wounds จะมีการท าลายของ epithelium และส่วนตื้นของ dermis epithelial cell ที่คลุม skin appendages, hair follicles, sebaceous glands จะแบ่งตัวมาคลุม exposed dermisการหายชนิดนี้จะมี collagen deposited ไม่มาก และไม่มี wound contraction
Ulcer เป็นพยาธิสภาพของผิวหนังที่เหลืออยู่หลังจากเนื้อตรงกลางของส่วนนั้นๆ ตายหรือเน่าหลุดไป
กายวิภาคและหน้าที่ของผิวหนัง
หนังกำพร้า (epidermis) อยู่ชั้นนอกสุดเป็นด่านแรกที่ป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อม
Epidermisที่ส าคัญที่สุดมี 2 ชั้น คือ
Stratum corneum อยู่นอกสุดมี monolipid เป็นส่วนประกอบท าหน้าที่ในการป้องกันเชื้อโรค
เข้าสู่ร่างกาย และป้องกันการสูญเสียน้ าทางผิวหนัง (Insensible loss)
Stratum germinativum สร้างเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่ถูกทำลาย มี melanin
หนังแท้(Dermis) อยู่ถัดจากหนังกำพร้า
• หล่อเลี้ยงด้วยหลอดเลือดฝอย เส้นประสาท ระบบต่อมน้ าเหลือง และ Epithelium appendage
• มีหน้าที่สร้าง ซ่อมแซมชั้นผิวหนังใหม่ และมีปลายประสาทรับความรู้สึกเจ็บปวดอยู่ในชั้นนี้มาก
หน้าที่ของผิวหนัง
1.ป้องกันเชื้อโรคและการบาดเจ็บ/อันตรายจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
2.รักษาสมดุลของสารน้ำและเกลือแร่เมื่อผิวหนังถูกทำลาย เช่น ไฟไหม้น้ำร้อนลวก
3.ควบคุมอุณหภูมิให้สามารถปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม
4.ขับหลั่งไขมันในชั้นหนังแท้
5.เป็นอวัยวะรับความรู้สึก
6.สังเคราะห์วิตามินดี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผล
เสี่ยงต่ออันตรายจากมีเลือดออก
ห้ามเลือดและประเมินความรุนแรงของบาดแผล
อธิบายวิธีการรักษาพยาบาลให้ผู้ป่วยได้รับรู้ข้อมูลจะได้ช่วยลดความกลัวความวิตกกังวลและความเจ็บปวดลงได้
3.การดูแลบาดแผล
เสี่ยงต่ออันตรายจากการติดเชื้อบาดทะยัก
ทำความสะอาดแผล
ตกแต่งบาดแผล (debridement)
ให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
การสูญเสียหน้าที่ของเนื้อเยื่อที่ปกคลุมร่างกายทั้งภายในและภายนอกร่างกาย
การดูแลทั่วไป
1.1 การส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
1.2 ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ
1.3 ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและ electrolyte อย่างเพียงพอ เพื่อความชุ่มชื้นของเนื้อเยื่อและ ผิวหนัง ตลอดจนการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย
1.4 ควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือด (ในรายที่เป็นเบาหวาน) โดยการให้ยาตามแผนการรักษาและ ควบคุมอาหาร
1.5 หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อการหายของแผล เช่น steroid
1.6 ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การดูแลเฉพาะที่ (การดูแลบาดแผล)
2.1 การประเมินสภาพบาดแผล
2.2 การท าความสะอาดบาดแผล (wound care)
2.3 สอนผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีท าความสะอาดบาดแผลโดยวิธีปราศจากเชื้อ
สูญเสียภาพลักษณ์ เนื่องจากบาดแผลจากการเกิดอุบัติเหตุ
-เตรียมผู้ป่วยก่อนเผชิญปัญหา และการประเมินปัญหา
– สนับสนุนประคับประคองและกระตุ้นให้กำลังใจ
– ให้คำแนะนำ
– เป็นผู้ฟังที่ดี
– ให้การดูแล
– เป็นผู้สอน
– เป็นผู้ประสานงานและประเมินผลการดูแล
– เป็นผู้ส่งต่อผู้ป่วย
– เป็นที่ปรึกษา
หลักของการทำความสะอาดแผล
การท าความสะอาดแผลโดยหลักการก็คือความพยายามในการลดจ านวนของเชื้อโรคลงจนไม่เป็น
อุปสรรคต่อกระบวนการหายของแผล
นางสาวอรจิรา น้อยเสนา รหัสนักศึกษา 6203400078