Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด (Epidemiology surveillance) -…
หน่วยที่ 5การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด (Epidemiology surveillance)
ความหมายของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการกระจายและแนวโน้มของอุบัติการณ์ของ
ปัญหาสุขภาพ
มีความหมายกว้างกว่าการเฝ้าระวังโรค โดยครอบคลุมการเฝ้าระวัง
ในกรณีที่ไม่ใช่โรคด้วย
พัฒนาการด้านการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การสัมผัสผู้ป่วยโรคติดเชื้อ
(individual contacts of infectious patients)
เฝ้าระวังเฉพาะคนที่สัมผัส smallpox
(โรคฝีดาษหรือไข้ทรพิษ)
โรคติดต่อ(communicable Diseases)
มีการรายงานผู้ป่วยโรคโปลิโอไปยัง
หน่วยงานสาธารณสุข
เลือกเฉพาะโรคเรื้อรังบางโรค
(selected chronic disease)
มีการจัดท่าทะเบียนมะเร็ง
ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม
อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม
มีการเฝ้าระวังการสูบบุหรี่,
วัตถุประสงค์การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ประเมินสถานะทางสุขภาพของประชาชน
ใช้เป็นข้อมูลในการจัดล่าดับความส่าคัญในการวางแผน
และนโยบายในการด่าเนินงานทางด้านสาธารณสุข
ประเมินผลการด่าเนินงาน และผลกระทบที่เกิดขึ้น
ขอบเขตการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังการป่วย (morbidity surveillance)
การเฝ้าระวังการตาย (mortality surveillance)
การเฝ้าระวังการระบาด (outbreaks)
การเฝ้าระวังการใช้วัคซีน
การเฝ้าระวังปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค
ประเภทของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive surveillance)
การรายงานเป็นปกติประจ่าในผู้ที่มารับบริการตามระยะเวลาที่
ก่าหนด
การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance)
เป็นการค้นหาเชิงรุกเพื่อเพิ่มโอกาสที่จะได้ข้อมูลการเกิดโรคมากขึ้น
การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่มเฉพาะพื้นที่ (Sentinel Surveillance)
การใช้ชนิดกลุ่มตัวอย่างที่จะเฝ้าระวังเป็นตัวแทนของกลุ่ม
ประชากรที่ต้องการสะท้อนปัญหา
การเฝ้าระวังเฉพาะเหตุการณ์ (Special Surveillance)
การจัดให้มีระบบเฝ้าระวังที่รวดเร็ว มีความน่าเชือถือ มี
รายละเอียดและจ่าเพาะ
หลักการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จะเฝ้าระวัง...อะไร
ความส่าคัญของโรคหรือปัญหาสุขภาพทางด้านสาธารณสุข
สามารถด่าเนินการหรือมีมาตรการต่างๆ ต่อไปจากการเฝ้าระวัง
สามารถเก็บข้อมูลได้ง่าย
ทรัพยากรที่สนับสนุนระบบการเฝ้าระวังเช่น เงิน คน เป็นต้น
จะเฝ้าระวัง...ที่ไร
ห้องปฏิบัติการ
สภานพยาบาล
ชุมชน
กลุ่มเสี่ยง
จะเฝ้าระวัง...ใคร
เฝ้าระวังกลุ่เสี่ยง
เฝ้าระวังผู้ติดเชื้อ
เฝ้าระวังกลุ่มอาการ
เฝ้าระวังผู้ป่วย
จะเฝ้าระวัง...เมื่อไหร่
ผลกระทบรุนแรง
มีศักยภาพสูงในการระบาด
เป็นโรคเป้าหมายส่าคัญระดับชาติ
มีการด่าเนินงานต่อเนื่องทันที
จะเฝ้าระวัง...อย่างไร
สิ่งแวดล้อม (pre-exposure)
สิ่งคุกคาม (hazard/agent)
พฤติกรรมเสี่ยง (behavior/risk factor)
การสัมผัสปัจจัยเสี่ยง (exposure)
อาการแสดงเริ่มแรก (pre-symptomatic phase)
อาการแสดงของโรค (apparent disease)
การตาย (death)
ขั้นตอนการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การรวบรวมข้อมูล (Collection of data)
การเรียบเรียงข้อมูล (Collation of data)
การวิเคราะห์และแปลผล
(Analysis and interpretation of data)
การกระจายข้อมูลข่าวสาร
(Dissemination of information)
องค์ประกอบของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
เหตุการณ์ทางสุขภาพ (Health event)
ข้อมูล (Data)
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
บัตรรายงานผู้ป่วย (รง.506) เป็นแบบรายงานที่ใช้บันทึกผู้ป่วยใหม่
ด้วยโรคที่อยู่ในข่ายงานเฝ้าระวัง
บัตรเปลี่ยนแปลงรายงานผู้ป่วย (รง.507) เป็นแบบรายงานที่ใช้
เปลี่ยนแปลงโรคที่รายงาน
ทะเบียนออกเลขที่บัตรรายงานผู้ป่วย (E.0)
ทะเบียนผู้ป่วยแยกตามชนิดของโรค (E.1)
ทะเบียนผู้ป่วยเป็นรายวันในแต่ละเดือนแยกตามชนิดของโรค (Dr)
ทะเบียนผู้ป่วยเป็นรายเดือนและอ่าเภอ แยกตามชนิดโรค (E.2)
ทะเบียนผู้ป่วยเป็นรายเดือน ตามกลุ่มอายุและเพศแยกตามชนิดโรค
(E.3)
รายงานสถานการณ์ของโรคประจ่าสัปดาห์ ตามวันรับรักษาผู้ป่วย (E.4)
รายงานการปฏิบัติงานประจ่าเดือน (E.7)
ทะเบียนรับบัตร รง.506 ของงานระบาดวิทยาจังหวัด เป็นรายวัน (E.8)
ทะเบียนรับบัตร รง.506 และบัตร รง.507 ของงานระบาดวิทยาเป็นราย
เดือน (E.8.1)
แบบบันทึกกิจกรรมการใช้ประโยชน์ข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยา (E.9)
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
“ระบบที่ด่าเนินอย่างต่อเนื่องในการจัดเก็บ วิเคราะห์
และแปลผลข้อมูลทางสุขภาพ เพื่อที่จะใช้ในการวางแผนด่าเนินการและประเมินผลโครงการทางด้านสาธารณสุข และน่าผลที่ได้ไปเผยแพรให้แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ต่อไป”
คุณสมบัติของระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
เชิงปริมาณ
ความไว (sensitivity)
ความสามารถในการท่านายค่า (predictive)
ความถูกต้อง (Accuracy)
ความทันเวลา (timeliness)
ความเป็นตัวแทน (representativeness
เชิงคุณภาพ
ความยอมรับได้ (acceptability)
ความเรียบง่าย (simplicity)
ความยืดหยุ่น (flexibility)
ความมั่นคง (stability)
การรายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จ่าเป็น การแสดงรายละเอียดในรายงาน ประกอบด้วย
ความปกติและผิดปกติของการเกิดโรคหรือเหตุการณ์ที่เฝ้าระวัง
‣ รายละเอียดทางระบาดวิทยาของการเกิดโรคหรือเหตุการณ์ที่เฝ้าระวัง
‣ เสนอแนะมาตรการ/วิธีการแก้ไขปัญหา
รูปแบบการรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ประจ่าวัน (เฉพาะบางโรคและบางคราวที่มีการระบาด)
‣ รายงานการเฝ้าระวังโรคประจ่าสัปดาห์
‣ รายงานเฝ้าระวังโรคประจ่าเดือน
‣ รายงานเฝ้าระวังโรคประจ่าปี
ประโยชน์ของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
1.ใช้คาดประมาณขนาดปัญหา (estimate magnitude of the problem)
ทราบการกระจายทางภูมิศาสตร์ของโรค (determine geographic distribution of illness)
แสดงธรรมชาติการเกิดโรค (portray the natural history of a disease)
ตรวจจับการระบาด/แสดงปัญหา (detect epidemics/define a problem)
ประเมินมาตรการควบคุมโรค (evaluate control measures)
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของปัญหาสุขภาพ (monitor changes in health problem)
ท่าให้เกิดสมมติฐานการวิจัย (generate hypotheses, stimulate research)
ตรวจจับความเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติทางสุขภาพ (detect changes in health practices)
ช่วยในการวางแผน (facilitate planning)