Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 27-29 ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ 2546 พ.ศ. 2553 และ พ…
บทที่ 27-29 ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ 2546 พ.ศ. 2553 และ พ.ศ.2562
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ 2546
มาตรา 5 กระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
มาตรา 6 ให้จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคำแนะนำของสภาการศึกษามีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อกำหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่การศึกษาสำหรับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ให้แล้วเสร็จภายใน 90 วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
มาตรา 4 ให้นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการราชการแผ่นดินและกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติมาใช้บังคับแก่กระทรวงศึกษาธิการการโดยอนุโลม
มาตรา 7 กำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการ โดยคำนึงถึงคุณวุฒิประสบการณ์มาตรฐานวิชาชีพลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน
มาตรา 3 ให้ยกเลิก
พระราชบัญญัติระเบียบการปฎิบัติราชการของทบวงมหาวิทยาลัย (ฉบับที่2) พ.ศ.2537
พระราชบัญญัติคณะกรรมการการประถมศึกษา พ.ศ. 2523
พระราชบัญญัติระเบียบการปฎิบัติราชการของทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ.2520
พระราชบัญญัติคณะกรรมการการประถมศึกษา (ฉบับที่2) พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2535
มาตรา 8 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจออกกฎกระทรวงระเบียบประกาศเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้โรงเรียนมีความรู้ไม่ชี้ขาดปัญหาอะไรเกี่ยวกับการปฏิบัติการ
หมวดที่ 1 : การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
มาตรา 11 การแบ่งส่วนราชการภายในส่วนราชการ
ให้แบ่งส่วนราชการสำนักงานรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาดังต่อไปนี้
งานบริหารทั่วไป
กลุ่มงานประสานการเมือง
กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ
มาตรา ๑๐ การแบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามพระราช บัญญัตินี้ โดยให้มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานปลัดกระทรวง
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สำนักงานรัฐมนตรี
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มาตรา 14 สภาการศึกษามีหน้าที่
เสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและกีฬากับการศึกษาทุกระดับ
เสนอนโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษา
เสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากร
ประเมินผลการจัดการศึกษา
ให้ความเห็นหรือคำแนะนำในเรื่องกฎหมายและกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับการศึกษา คณะกรรมการสภาการศึกษา 59 คน
มาตรา 9 ให้จัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ดังนี้
สำนักงานปลัดกระทรวง
ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา 13 คณะกรรมการอุดมศึกษา และคณะกรรมการอาชีวศึกษา เสนอความเห็นหรือคำแนะนำต่อรัฐมนตรี
มาตรา 15 ให้มีคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่เสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติการสนับสนุนทรัพยากรการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและเสนอแนะในการออกระเบียบหลักเกณฑ์ประกาศที่เกี่ยวกับการบริหารของสำนักงาน
มาตรา 12 กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชา
มาตรา15 คณะกรรมการขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย
มาตรา16 คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย
มาตรา17 คณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย
มาตรา 18 สภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาและคณะกรรมการการอาชีวศึกการ อาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมหรือคณะกรรมทำงานเพื่อพิจารณาเสนอความคิดเห็นในเรื่องหนึ่งเรื่องใด
มาตรา 19 สำนักงานรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
มาตรา 20 ให้กระทรวงศึกษาธิการมีผู้ตรวจราชการของกระทรวง
มาตรา 21 ให้กระทรวงศึกษาธิการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในกาจัดการศึกษาขององค์กรปกครองท้องถิ่น
มาตรา 22 ในกรณีที่เขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรา 33 ไม่อาจบริหารและจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา23 กระทรวงศึกษาธิการมีปลัดกระทรวง
มาตรา 24 สำนักานปลัดกระทรวง
:มาตรา 25 สำนักานปลัดกระทรวง อาจแบ่งส่วนราชการ ดังนี้
สำนักอำนวยการ
สำนัก สำนักบริหารงาน
มาตรา 26 สำนักอำนวยการมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของสำนักงานปลัดกระทรวง
มาตรา 27 ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและประสานความร่วมมือการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้มีคณะกรรมการจำนวน 21 คน
มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์
ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
มีสัญชาติไทย
ไม่เคยมีประวัติเสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณและการประกอบวิชาชีพ
ไม่เคยรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเว้นแต่โทษ
เป็นที่ยอมรับในเรื่องความซื่อสัตย์และความยุติธรรม
ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
มาตรา 28 29 ให้สำนักงานที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี
มาตรา 30 เลขาธิการซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของส่วนการตามมาตรา 28
มาตรา 31 สำนักงานอำนวยการมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไป
มาตรา 32 ให้คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษในสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานทำหน้าที่เป็นองค์กรส่งเสริมและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกายจิตใจสติปัญญาอารมณ์สังคมการสื่อสารการเรียนรู้เธอมีร่างกายพิการหรือคนทุพพลภาพ
หมวดที่ 2 การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา36 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา กรรมการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม
มาตรา33 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา 34 ให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษาดังนี้
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
มาตรา 35 สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา 34 เฉพาะที่เป็นโรงเรียนมีฐานะเป็นนิติบุคคลเมื่อมีการยกเลิกสถานศึกษาให้ความเป็นนิติบุคคลสิ้นสุดลง
มาตรา 37 ให้มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อทำหน้าที่ในการดำเนินการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 36 และให้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษาตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายหรือกฎหมายอื่นและมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
อำนาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษาและพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อำนาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาร่วมกับสถานศึกษา
รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา38 ให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับตำ่กว่าปริญญา
มาตรา 39 สถานศึกษาและส่วนราชการตามมาตรา 34 (2) มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการ
หมวดที่ 3 การจัดการระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่นิติบุคคล
มาตรา 41 เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตามมาตรา 40
มาตรา 42 วางระเบียบการปฏิบัติราชการ
มาตรา 40 ระเบียบปฎิบัติราชการ
มาตรา 43 กระทรวงศึกษาธิการอาจขอให้กระทรวง
หมวดที่ 4 การปฏบัติราชการ
มาตรา 44 ให้ปลัดกระทรวงเลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาทางด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง
หมวดที่ 5 การรักษาราชการแทน
มาตรา54 ในกรณีในกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการหลายคน ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่แต่งตั้งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ให้แต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา 55 ให้ผู้รักษาราชการแทนตามความในพระราชบัญญัตินี้มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน กรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งหรือผู้รักษาราชการแทนผู้ดำรงตำแหน่งนั้นมอบหมาย หรือมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทน ให้ผู้ปฏิบัติราชการแทนมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งมอบหมายหรือมอบอำนาจ
มาตรา54 ในกรณีในกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการหลายคน ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่แต่งตั้งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ให้แต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา53 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหลายคน ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแต่งตั้งรองผู้อำนวยการรักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแต่งตั้งข้าราชการในเขตพื้นที่การศึกษาซึ่งดำรงตำแหน่งเทียบเท่ารองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือ ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือตำแหน่งเทียบเท่ารองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา 56 การเป็นผู้รักษาราชการแทนตามพระราชบัญญัตินี้ไม่กระทบกระเทือนอำนาจของนายกรัฐมนตรีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าปลัดกระทรวงเลขาธิการ หรือผู้ดำรงตำแหน่ง
เทียบเท่าเลขาธิการ ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่จะแต่งตั้งข้าราชการอื่นรักษาราชการแทน กรณีที่มีการแต่งตั้งผู้รักษาราชการให้ผู้ดำรงตำแหน่งหรือผู้ช่วยพ้นจากความเป็นผู้รักษาราชการแทนนับแต่เวลาที่ได้รับแต่งตั้งเข้ารับหน้าที่
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562
มาตรา 4 ยกเลิกมาตรา 10
มาตรา 5 ยกเลิกมาตรา 13
มาตรา 3 ให้ยกเลิกมาตรา 6
มาตรา 6 ยกเลิกมาตรา 16
มาตรา 7 ยกเลิกมาตรา 18
มาตรา 8 ยกเลิกมาตรา 20
มาตรา 10 ให้ยกเลิกความในวรรควรรณหนึ่งมาตรา 28
มาตรา 44 ให้ปลัดกระทรวงเลขาธิการสภาการ ศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาทางด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553
ประกาศ 22 กรกฎาคม 2553 มีผลบังคับใช้ 23 กรกฎาคม 2553
มาตรา 5 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคำแนะนำของสภาการศึกษามีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อกำหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่การศึกษาสำหรับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาให้แล้วเสร็จภายใน 90 วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา 33 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวนสถานศึกษาประชากรวัฒนธรรมและความเหมาะสมด้านอื่นเว้นแต่การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคำแนะนำของสภาการศึกษามีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดเขตพื้นที่การศึกษาแบ่งเป็นเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอ่านประกาศกำหนดขยายการบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานของเขตพื้นที่การศึกษาหนึ่งไปในเขตพื้นที่การศึกษาอื่นได้(กรณีมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการศึกษา)
นางสาวนุชนาฎ เพ็ชรหนู 6220160354 เลขที่ 9 กลุ่ม 3