Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การสอบสวนทางระบาดวิทยา - Coggle Diagram
หน่วยที่ 6
การสอบสวนทางระบาดวิทยา
การระบาด
คำศัพท์ที่ควรรู้
Endemic = การเกิดโรคเป็นประจำในท้องถิ่น
Epidemic = Outbreak
Outbreak -> เร่งด่วน, รวดเร็ว
Epidemic -> ขยายวงกว้าง
Cluster = ความเป็นกลุ่มก้อนของผู้ป่วยตามบุคคล,เวลา, สถานที่
Pandemic = การระบาดที่ขยายวงกว้างไปหลายประเทศ,
หลายภูมิภาคทั่วโลก
นิยามการระบาด
การระบาดคือ การมีผู้ป่วยจำนวนที่มากกว่า
ปกติกว่าที่คาดหมายไว้ในสถานที่และ เวลานั้น
การมีผู้ป่วยมากกว่าปกติ
มากกว่า
ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
ค่าเฉลี่ย + ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 ปีย้อนหลัง
ค่าเฉลี่ยของ 2-3 สัปดาห์หรือ 2-3 เดือน ก่อนหน้านั้น
ป่วย 2 รายขึ้นไป ที่เกิดโรคในเวลาอันสั้น โดยมีความเกี่ยวข้อง
เชื่อมโยงกัน
ป่วย 1 ราย ด้วยโรคที่ไม่เคยมี หรือ เคยมีแต่หายไปนานแล้ว หรือ
แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว หรือมีความรุนแรง หรือมีผลกระทบสูง
Priority diseases
1.Pneumonia suspected SARS, Avian Influenza : AI โรคปอดบวมที่สงสัยว่าเป็นโรคซาร์สไข้หวัดนก: AI
2.Cholera อหิวาตกโรค
3.Encephalitis ไข้สมองอักเสบ
4.Meningococcal meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
5.Dengue Haemorhagic Fever : DHF ไข้เลือดออก
6.Polio โปรีโอ
7.Acute Flaccid Paralysis : AFP กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกฉับพลัน
8.Anthrax โรคแอนแทรกซ์
9.Severe Adverse Event Following Immunization : AEFI เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์อย่างรุนแรงหลังการฉีดวัคซีน
10.Tetanus Neonatorum บาดทะยัก
11.Diphtheria คอตีบ
12.Rabies โรคพิษสุนัขบ้า
13.Cluster of diseases with unknown etiology กลุ่มโรคที่ไม่ทราบสาเหตุ
14.Food poisoning outbreak อาหารเป็นพิษระบาด
15.Acute severely ill or death of unknown infection ป่วยหนักเฉียบพลันหรือเสียชีวิตจากการติดเชื้อโดยไม่ทราบสาเหตุ
การตรวจจับการระบาด
แหล่งที่มาของข่าวการระบาด:
ข้อมูลการเฝ้าระวังโรค
เครือข่าย SRRT
บุคคลากรที่ดูแลผู้ป่วย
ประชาชน
สื่อต่างๆ : Newspaper, TV, Internet
รูปแบบการระบาด (Outbreak patterns)
ผู้ป่วยเพียงรายเดียว
Individual case
Case series
ผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน
แหล่งโรคร่วม (Common source)
Point (แพร่โรคจากจุดเดียว เวลาเดียวสั้นๆ)
Intermittent (แพร่โรคจากจุดเดียว และหยุดเป็นพักๆ)
Continuous (แพร่โรคจากจุดเดียว อย่างต่อเนื่อง)
แหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source)
แหล่งโรคแบบผสม (Mixed source)
กราฟเส้นโค้งการระบาด (Epidemic Curve)
ของแหล่งโรคแพร่กระจาย (เครื่องมือ)
บอกชนิดของการระบาด
ใช้คาดประมาณระยะเวลาที่ได้รับเชื้อ(Exposure period)
ประโยชน์ของการทราบชนิดการระบาด
แหล่งโรคแพร่กระจาย
ให้สุขศึกษา
ปรับปรุงสุขภิบาล
แหล่งโรครวม
กำจัดแหล่งโรค
ผสมผสาน
กำจัดแหล่งโรค
ให้สุขศึกษา
ปรับปรุงสุขภิบาล
การสอบสวนทางระบาดวิทยา
นิยามความหมาย
เป็นกิจกรรมหรือการดeเนินการเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ของการ
เกิดโรคหรือเหตุการณ์การระบาด โดยการรวบรวมข้อมูลต่างๆ
ระบบเฝ้าระวัง จะตอบคำถามว่า เกิดอะไรขึ้น เกิดกับ
ใคร เกิดที่ไหน เกิดเมื่อไหร่ การสอบสวนโรค
วัตถุประสงค์ของการสอบสวนทางระบาดวิทยา
ควบคุมการระบาดที่กำลังเกิด
ป้องกันการระบาดในอนาคต
ศึกษาวิจัยเพื่อหาความรู้เกี่ยวกับโรค
ประเมินประสิทธิผลของมาตรการควบคุมโรคที่มี
ประเมินประสิทธิผลของระบบเฝ้าระวัง
ฝึกอบรมนักสาธารณสุข
ตอบสนองความต้องการทางสังคม การเมือง หรือกฎหมาย
ขั้นตอนการสอบสวนทางระบาดวิทยา
1.การเตรียมการปฏิบัติงานภาคสนาม Rapid Response Team
At outbreak begins
เตรียมทีม
เตรียมทีมและบทบาทหน้าที่ของสมาชิก
กำหนด วัตถุประสงค์ ของการออกสอบสวนโรค
เครื่องมือและความรู้ที่จำเป็น
การติดต่อสื่อสาร
ยืนยันการวินิจฉัยโรค
ยืนยันการระบาด
2.การตรวจสอบยืนยันการวินิจฉัย และการระบาด
ยืนยันการวินิจฉัยโรค
การวินิจฉัยแยกโรค (Differential diagnosis)
การตรวจสอบการวินิจฉัยโรค (Verify diagnosis)
การยืนยันการวินิจฉัยโรค (Confirm diagnosis)
ยืนยันการระบาด
จำนวนผู้ป่วยมากกว่าปกติ
ผู้ป่วยแต่ละรายมีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา
โรคที่ไม่เคยพบในพื้นที่มาก่อน (Emerging disease)
โรคที่มีความรุนแรง แพร่กระจายเร็ว มีผลกระทบสูง
3.การกำหนดนิยามผู้ป่วยค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม
เกณฑ์มาตรฐานในการใช้ตัดสินว่าใครเป็นผู้ป่วย ที่เรากำลัง
ค้นหาและท าการสอบสวน
ควรตอบวัตถุประสงค์ของการสอบสวนโรค
เข้าใจง่าย, ชัดเจน, วัดได้ง่าย
Clinical criteria, ประกอบกับ time, place, person
Sensitivity vs. specificity
4.การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาการมีผู้ป่วยตามเวลา สถานที่ บุคคล
Time
Epidemic curve
Place
spot map
area map
Attack rate by place
Person
Frequency
Specific attack rate
5.การสร้างสมมติฐานการเกิดโรค
ใคร คือกลุ่มเสี่ยง
อะไรเป็นแหล่ง หรือพาหะของโรค
โรค แพร่กระจายไปอย่างไร
6.การศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ ทดสอบสมมติฐาน
Develop hypotheses
ใคร คือ ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรค?
อะไร คือ พาหะนeโรค และ แหล่งโรค?
โรค แพร่กระจายไปอย่างไร?
study design
Cohort study เปรียบเทียบดูว่า ผู้ที่ได้รับปัจจัย
เสี่ยง กับผู้ที่ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยงมีโอกาสป่วย
แตกต่างกันกี่เท่า
Case-control study โดยเปรียบเทียบดูว่า ผู้ป่วย
และผู้ไม่ป่วยมีประวัติการได้รับปัจจัยเสี่ยงแตกต่างกันกี่เท่า
7.การศึกษาเพิ่มเติม (ถ้าจำเป็น)
การศึกษาทางห้องปฏิบัติการ-การเพาะเชื้อ
การศึกษาทางสภาพแวดล้อม-การตรวจคุณภาพน้
การศึกษาวิจัยอื่น ๆ
8.การควบคุมและป้องกันโรค
การสอบสวนทางระบาดวิทยา
ก าหนดมาตรการควบคุมโรค
กeจัด / ควบคุมแหล่งโรค แหล่งแพร่เชื้อ
ตัดทางแพร่กระจาย (Mode transmission)
ปกป้องประชากรกลุ่มเสี่ยง
9.การนำเสนอผลการสอบสวน
หัวข้อในการนำเสนอแบบสรุป
ความเป็นมา/ วิธีการศึกษา
ผลการศึกษา
สิ่งที่ได้ดำเนินการไปแล้ว
ข้อเสนอแนะ
ส่งกลับให้ผู้เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์
กลุ่มผู้บริหารที่มีหน้าที่ในการควบคุมโรค
กลุ่มเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
กลุ่มประชาชนและชุมชนที่เกิดโรคหรือประชาชนทั่วไป
10.การติดตามมาตรการควบคุมโรค
การประเมินมาตรการควบคุม
ประสิทธิผลของมาตรการควบคุม คือ การเกิดโรคลดลงทุกวัน
มาตรการควบคุมกำลังได้ผล
ประชากรที่เสี่ยงเป็นโรคหมดแล้ว
แหล่งเชื้อโรคลดลงเองตามธรรมชาติ
การรายงานไม่สม่ำเสมอ