Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hyperthyroidism, กลุ่มยา Pregnancy category D
…
Hyperthyroidism
อาการและอาการแสดง
-
-
6.ตาโปน (exophhthalmos) เนื่องจากมีน้ำและน้ำมันที่สะสมในหลังดวงตาดันให้ลูกตาโปนออกมานอกเบ้าตา ถ้าถูกดันออกมามากๆ หลับตาไม่สนิทอาจเกิดแผลและติดเชื้อที่จอตาทำให้ตาบอดได้
-
-
-
1.ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้นลักษณะเป็นคอพอก (Goiter) ขนาดขยายทั่วทั้งต่อม ลักษณะเนื้อ firm homogeneous และอาจหังได้เสียง bruit ที่ต่อม
-
8.ในไตรมาสสองการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์เป็นสิ่งสําคัญในไตรมาสนี้ เพราะเป็นช่วงที่ลูกโตพอที่ หมอจะตรวจดูได้แล้วว่าทารกในครรภ์ของคุณแม่ได้รับผลกระทบจากภาวะไทรอยด์เป็นพิษของคุณแม่หรือเปล่า เช่น มีภาวะโตช้าในครรภ์ มีภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการรับฮอร์โมนบางตัวของคุณแม่เข้าไป หรือได้รับผลกระทบจากยาที่คุณแม่รักษาอยู่หมอก็จะอัลตราซาวนด์เช็กความสมบูรณ์ของทารกให้เป็นระยะ เพื่อให้สุขภาพของคุณแม่และทารกสมบูรณ์แข็งแรงตลอดการตั้งครรภ์
9.ในช่วงไตรมาสที่ 3 คือ ในช่วง 7 – 9 เดือน อากรวิกฤติที่ถือว่าเสี่ยงอันตราย จะทำให้คุณแม่หัวใจเต้นผิดจังหวะ ตับทำงานผิดปกติ หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงทีอาจเกิดอาการหัวใจวายเฉียบพลันได้
ผลกระทบ
-
ต่อทารก
โรคแต่กำเนิด ทารกบางรายอาจไม่มีต่อมไทรอยด์หรือต่อมไทรอยด์ทำงานบกพร่องทำให้สร้างฮอร์โมนไทรอยด์ได้น้อยมาตั้งแต่กำเนิด ซึ่งเรียกว่า “โรคพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด” (Congenital hypothyroidism) อาจส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ลิ้นโต ท้องผูก สะดือจุ่น ผิวและผมแห้ง ขนคิ้วบาง ฟันขึ้นช้า ร่างกายแคระแกร็น น้ำหนักขึ้นน้อย
ในมารดาที่มีภาวะ Graves disease จากการที่ thyroid- stimulating immunoglobulins ผ่านรกและไปกระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ ส่งผลให้หัวใจทารกเต้นเร็วมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที ทารกโตช้าในครรภ์ ต่อมไทรอยด์โต อายุกระดูกมากกว่าอายุครรภ์(advanced bone age) รอยแยกของศีรษะเชื่อมต่อกันเร็วกว่าปกติ (craniosynostosis) หรือเกิดภาวะทารกบวมน้ำ (Nonimmune hydrops) และทารกเสียชีวิตในครรภ์ได้
ความผิดปกติของต่อมใต้สมอง ต่อมใต้สมองมีหน้าที่ผลิตฮอร์โมนกระตุ้นไทรอยด์ (Thyroid-stimulating hormone : TSH) หากต่อมนี้ทำงานผิดปกติก็จะไม่สามารถผลิตฮอร์โมนขึ้นมากระตุ้นการผลิตฮอร์โมนในต่อมไทรอยด์ได้ตามปกติ ส่งผลให้ฮอร์โมนไทรอยด์ในร่างกายไม่เพียงพอ
-
-
กลุ่มยา Pregnancy category D
กลไกการออกฤทธิ์โดยยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ในต่อมไทรอยด์ที่ชื่อว่า 5-deiodinase ส่งผลให้การเปลี่ยนไทรอยด์ฮอร์โมนจาก T4 ไปเป็น T3 หยุดลงT3 เป็นไทรอยด์ฮอร์โมนที่คอยออกฤทธิ์ให้เซลล์ของร่างกายเกิดกระบวนการเมตาโบลิซึม (Metabolism หรือ สันดาป) ต่างๆ เมื่อมี T3 น้อยลง (กระบวนการเผาผลาญก็น้อยลง) จึงเท่ากับช่วยบำบัดภาวะต่อมไทรอยด์เป็นพิษลงไปได้
PTU สามารถผ่านไปสู่รกในครรภ์ได้ อาจถูกนำมาใช้จนถึงคลอด ทำให้เกิด Goiter และ Hypothyroidism ในเด็กแรกเกิด ซึ่งสามารถพิจารณาลดขนาดยาหรือหยุดยาในไตรมาสที่สาม ช่วงอายุครรภ์
30-34 สัปดาห์ แต่ PTU สามารถรับประทานได้ในไตรมาสแรก เนื่องจากไม่พบอุบัติการณืในการเกิด Goiter และ Hypothyroidism เพราะ การสร้าง Thyroid hormone ยังไม่สามารถสร้างจนกว่าอายุครรภ์ 11-12 สัปดาห์
ผลข้างเคียง
มารดา
เม็ดเลืออดขาวต่ำ (Agranulocytosis) เจ็บคอ เป็นไข้ ผื่นขึ้น
ทารก
hypothyroidism Goiter พิการของกระโหลกศีรษะ (Scap defect)