Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินมารดาหลังคลอดตามหลัก 13B case study เตียง 11, นศพต.อรยา…
การประเมินมารดาหลังคลอดตามหลัก 13B
case study เตียง 11
คำแนะะนำมารดาหลังกลับบ้าน
การคุมกำเนิด
การทำหมันหลังคลอด ทำภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอดจะนิยมทำในช่วง48ชั่วโมงหลังการคลอด เนื่องจากสามารถทำได้โดยง่าย
ยาฝัง คุมกำเนิดได้3ปี ไม่ส่งผลต่อปริมาณน้ำนมของมารดา
ยาฉีด คุมกำเนิดได้ 3 เดือน ไม่มีปัญหาเรื่องการลืมกินยา
คุมกำเนิดได้นานกว่ายาคุมชนิดกิน
ยาแบบกิน ชนิดฮอร์โมนเดี่ยวสามารถรับประทานได้ในช่วงให้นมบุตรโดยไม่มีผลกระทบต่อปริมาณน้ำนมและยังช่วยเพิ่มน้ำนม
ถุงยางอนามัย
การปฏิบัติตัว
พักผ่อนวันละ 8-10 ชม.
สังเกตลักษณะน้ำคาวปลา
หากมีอาการคัดตึงเต้านมให้ประคบอุ่นและนวดคลึงเต้านม
ดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว
ทำความสะอาดแผลฝีเย็บจากด้านหน้าไปด้านหลัง
เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ห้ามใช้ผ้าอนามัยแบบสอด
เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ เพื่อไม่ให้เกิดการอับชื้น
ป้องกันไม่ให้ท้องผูก กินอาหารที่มีกากใยสูง
งดอาหารหมักดอง อาหารรสจัด ชา กาแฟ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ไม่ควรยกของหนักหรือขึ้นลงบันไดบ่อย
ออกกำลังกายโดยการขมิบอุ้งเชิงกรานวันละ 200-300 ครั้ง
แนะนำให้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะโปรตีน เช่น เนื้อ นม ไข่ และรับประทานอาหารที่ช่วยสร้างน้ำนม เช่น หัวปลี แกงเลียง น้ำขิง
ไม่ควรแช่น้ำในอ่าง ในสระ หรือ ในลำคลอง
งดมีเพศสัมพันธ์หลังคลอดประมาณ 6 สัปดาห์
การให้นมบุตร
ประโยชน์ด้านทารก
ทำให้ลูกไม่ท้องผูก ย่อยง่าย
สารอาหารครบถ้วน
รับภูมิต้านทานโรค
ลดการเกิดภูมิแพ้
ประโยชน์ด้านแม่
กระตุ้นการไหลของน้ำนม
คุมกำเนิดแบบธรรมชาติ
(เนื่องจากมี prolactin สูง ยับยั้งการตกไข่)
อาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์
ปวดท้องรุนแรง
เต้านมอักเสบ : กดเจ็บ บวม แดง มีก้อน
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น มีไข้ มีสีแดงเข้ม
มีเลือดสดๆออกทางช่องคลอด
แผลฝีเย็บ : บวม แดง มีหนองไหล
ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะขุ่น
หลัง 2 wks คลำพบมดลูกหรือก้อนทางหน้าท้อง
Background
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล
(15 พฤศจิกายน 2563 )
อาการสำคัญ น้ำเดิน 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
เจ็บครรถ์ เวลา 20.00-16.00 น.
15 พฤศจิกายน 2563 เวลา 0.05 น. PV ปากมดลูกเปิด 1 cm. Eff 50% station -1 position OL FHS 140 ครั้ง/นาที
วันที่รับไว้ในการดูแล
16 พฤศจิกายน 2563 มภร.10/2 อุณหภูมิร่างกาย = 36.0 องศาเซลเซียสความดันโลหิต = 121/78 mmHgชีพจร = 88 ครั้ง/นาที การหายใจ 18 ครั้ง
ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
G3P2000 อายุครรภ์ 39 wks 1 day Pregnancy ฝากครรภ์ครั้งแรกตอน 13+4 wks. by u/s ฝากครรภ์ทั้งหมด 9 ครั้ง ที่โรงพยาบาลตำรวจ
ประวัติการฝากครรภ์
ฝากครรภ์ครั้งแรก 13+4 wks. by u/s
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 52 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร BMI 20.31
น้ำหนักก่อนคลอด 70.9 กิโลกรัม BMI 27.7
ประวัติการคลอดปัจจุบัน
คลอด Normal Labor ท่า ทารกเพศหญิง น้ำหนัก 3,460 กิโลกรัม เจ็บครรภ์จริง คลอดเวลา 1.35 น. เวลาในการคลอด หลังคลอดได้รับ หลังรกคลอด blood loss 200 ml ไม่ได้ตัดฝีเย็บ มีการฉีกขาด ระดับ 2
ประวัติการเจ็บป่วย
ประวัติการรักษา ปฏิเสธการเจ็บป่วย ไม่แพ้อาหาร ไม่แพ้ยา สารเคมี ไม่มีประวัติการผ่าตัด ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว มารดาเป็น HTN สามีเป็น Gout
มารดาหลังคลอด เตียง 11 มภร.10/2 อายุ 35 ปี ศาสนาพุทธ จบการศึกษา อาชีพ รับจ้าง รายได้ 15,000 บาท/เดือน ไม่มีโรคประจำตัว ไม่ดื่มสุรา ไม่สูบบุหรี่
Body condition : ภาวะทั่วไป
มารดาไม่มีภาวะซีด สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ สีหน้าสดชื่น
Body tem. Blood pressure
v/s stable
15 พฤศจิกายน 2563 (7.00 น.)
อุณหภูมิร่างกาย 37.1 องศาเซลเซียส
ชีพจร 86 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ 18 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต 120/70 mmHg
ไม่มีปวดหัว ตาพร่ามัว
16 พฤศจิกายน 2563
อุณหภูมิร่างกาย 36 องศาเซลเซียส
ชีพจร 72 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ 18 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต 100/70 mmHg
17 พฤศจิกายน 2563
อุณหภูมิร่างกาย 36.3องศาเซลเซียส
ชีพจร 86 ครั้ง/นาที
การหายใจ 18 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต 99/63 mmHg
Breast & lactation
เต้านมไม่คัดตึง คลำไม่พบก้อนแข็ง
หัวนมปกติ ไม่บอด ไม่บุ๋ม
ลานนมนุ่ม ไม่เป็นก้อนแข็ง
น้ำนมไหลดี flow score 2 คะแนน
Latch score 10 คะแนน
Belly & Fundus
-มดลูกจะลดลงสู่อุ้งเชิงกรานประมาณ
วันละ 0.5-1นิ้ว/วัน
-วันที่7 หลังคลอด ระดับยอดมดลูกจะอยู่กึ่งกลาง
ระหว่างหัวเหน่ากับสะดือ
-วันที่10 หลังคลอด อยู่ที่ระดับหัวเหน่า
-2สัปดาห์ คลำไม่พบที่หน้าท้องกลับสู่ปกติ
-6สัปดาห์ มดลูกเข้าอู่
แม่คลอด
แม่คลอด 15 พฤศจิกายน 2563 ระดับยอดมดลูก 5 นิ้ว
16 พฤศจิกายน 2563 ระดับยอดมดลูก 4 นิ้ว
17 พฤศจิกายน 2563 ระดับยอดมดลูก 3 นิ้ว
Bladder
ประเมินการปัสสาวะหลังคลอด
• ปัสสาวะภายใน 6-8 ชั่วโมงหลังคลอด
แม่ปัสสาวะ 4 ชั่วโมงหลังคลอด
ปัสสาวะสีเหลืองใส ไม่มีแสบขัด
Bleeding & lochia
Day 0 : สีแดงสดไม่มีกลิ่นเหม็น
Day 1: : สีแดงจางไม่มีกลิ่นเหม็น
Day2 : สีแดงจางไม่มีกลิ่นเหม็น
Blues
Day 0 : อ่อนเพลียเล็กน้อย นอนพักผ่อน
Day 1 : สนใจลูกมาก ให้ breast feeding สม่ำเสมอ
Day 2 : แม่อารมณ์ดี ยิ้มแย้มแจ่มใส ช่วยเหลือตัวเองได้มาก ให้นมลูก
Baby
ทารกผิวแดงดี ไม่ซีด ร้องดี
APGAR score = 9 10 10
Bottom
ไม่มีแผลฝีเย็บแต่ฉีกขาด 2 degree tear
REEDA
ไม่มีช้ำจ้ำเลือด
ไม่แดง
ไม่บวม
น้ำคาวปลาปกติ สีแดงจางลง
ขอบแผลชิดติดกันดี
Bowel movement
Day 0 : ยังไม่ถ่ายอุจจาระ
Day 1 : ยังไม่ถ่ายอุจจาระ
Day 2 : ยังไม่ถ่ายอุจจาระ
Belief
มารดาจะเลี้ยงบุตรด้วยน้ำนมมารดา
มารดาไม่มีความเชื่อเรื่องการอยู่ไฟ
Bonding
สามีและลูกสาวมาเยี่ยมช่วงกลางวันทุกวัน ซื้อของฝากมาเยี่ยม
ขณะนอนอยู่รพ.จะนำบุตรมานอนข้างๆ
พยาธิสภาพ
ด้านจิตใจ
Taking-in phase เป็นระยะ 1-3 วันแรกหลังคลอด ในช่วงนี้จึงสนใจต่อ ตนเอง มีความต้องการพึ่งพา (Dependency needs) มารดาอ่อนเพลียต้องการความช่วยเหลือ
Taking-hold phase ระยะนี้จะอยู่ในช่วง 4-10 วันหลังคลอด ช่วยเหลือตัวเองได้ ให้นมบุตร
Letting-go phase เป็นช่วงที่ต่อเนื่องจาก Taking-hold phase สามีและภรรยาพึ่งพากัน
ด้านร่างกาย
มดลูก
มดลูกจะมีลักษณะกลมแข็งอยู่ที่ระดับสะดือหรือสูงกว่าเล็กน้อย
น้ำหนักประมาณ1กิโลกรัมแล้วจะลดขนาดลงเรื่อยๆจนกระทั่งมีน้ำหนัก ประมาณ 60 กรัม
ระดับลงวันละ1-2เซนติเมตรโดยเฉลี่ย10-14วัน
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของมดลูกเพื่อคืนสู่สภาพปกติ ดังกล่าวเรียกว่า Involution
วันที่7 หลังคลอด ระดับยอดมดลูกจะอยู่กึ่งกลางระหว่างหัวเหน่ากับสะดือ
มดลูกจะลดลงสู่อุ้งเชิงกรานประมาณวันละ 0.5-1นิ้ว/วัน
วันที่10 หลังคลอด อยู่ที่ระดับหัวเหน่า
2สัปดาห์ คลำไม่พบที่หน้าท้องกลับสู่ปกติ
6สัปดาห์ มดลูกเข้าอู่
น้ำคาวปลา
Lochia rubra มีลักษณะสีแดง พบใน 1-3วันหลังคลอด
Lochia serosa มีลักษณะสีชมพู-สีน้ำตาล พบในระยะหลังคลอด 4-9วันหลังคลอด
Lochia alba มีลักษณะสีฟางข้าว-สีขาว 10-14วันหลังคลอด
Foul lochia เหม็นมีกลิ่น สีเขียว = ติดเชื้อ
ปากมดลูก
ระยะแรกหลังคลอดปากมดลูกจะมีลักษณะนุ่มบาง externalos
parous cervix เป็นริ้วรอยที่คงอยู่ตลอดไปเป็นการบ่งชี้ว่าเคยคลอดบุตรมาแล้ว
internalosจะปิดก่อนเช่นเดิมภายใน1-3วันหลังคลอด
ช่องคลอด
ผลจาการตั้งครรภ์การคลอดละการลดลงของ estrogen ทำให้ช่องคลอดขยายกว้างขึ้น อ่อนนุ่มรอยย่น(rugae) จะลดลงเป็นผิวเรียบซึ่งจะกลับเป็นปกติใน3สัปดาห์หลังคลอด
การบริหารด้วยวิธีขมิบก้นบ่อยๆ (Kegel’s exereise) จะช่วยให้กล้ามเนื้อช่องคลอดและกล้ามเนื้อในอุ้งเชิงกรานแข็งแรงเป็นปกติได้เร็วขึ้น
เต้านมและน้ำนม
Prolactinสร้างน้ำนม oxytocin หลั่งมากน้ำนมไหล ไปยับยั้งการทำงานProgesterone และ Estrogen กด Hypothalamus ไม่ให้หลั่ง FSH/LH ทำให้ประจำเดือนไม่มา ยิ่งดูดน้ำนมยิ่งไหล ยิ่งสร้าง
กลไกlet down reflex สร้างน้ำนม หลั่งProlactin
ต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนลดลงเพื่อปรับสมดุลร่างกาย
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hematocrit 11.8 g/dL ต่ำ
MCV 76.9 fL ต่ำ
MCH 24.2 pg ต่ำ
WBC 10340 uL สูง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อ 1 อาจตกเลือดหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
มารดาเป็น G3P2000
มีแผลในโพรงมดลูก
Blood loss ที่ LR : 200 ml
และbleeding per vagina 20 ml (เวลา 9.30 น.)
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่ตกเลือด
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการเวียนศีรษะ อ่อนเพลียน้อยลง
vital signs อยู่ในเกณฑ์ปกติ
มีการหดรัดตัวของมดลูกดี
มี blood loss ใน 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 500ml.
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการเวียนศีรษะ อ่อนเพลีย หน้ามืด ใจสั่น ตัวเย็น ของมารดาหลังคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
โดยการคลึงมดลูกให้กลมแข็ง
สังเกตปริมาณ ลักษณะ กลิ่น ของน้ำคาวปลา
Record Vital signs
อธิบายให้มารดาทราบว่าไม่ควรทำงานหนัก ยกของหนักหรือขึ้นลงบันไดบ่อยๆ เพราะจะทำให้เกิดการตกเลือดหลังคลอดได้
ประเมิน ปริมาณ และลักษณะเลือดของ bleeding per vagina ทุก 2-4 ชั่วโมง ในระยะ 24 ชั่วโมงแรก ต้องไม่เกิน 500 ml
record I/O
ดูแลให้ได้รับความสุขสบาย นอนหลับพักผ่อนบนเตียงลดการใช้พลังงาน
ประเมินผล
ไม่มีอาการเวียนศีรษะ อ่อนเพลียน้อยลง
vital signs อยู่ในเกณฑ์ปกติ
มีน้ำคาวปลา ~ 30 ml
มีการหดรัดตัวของมดลูกดี
แผลไม่บวม ไม่มีเลือดซึม
2.มารดาหลังคลอดเสี่ยงต่อการติดเชื้อหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
มารดาไม่มีแผลฝีเย็บ : second degree tear
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC 10.40 10*3/uL สูง
มีแผลในโพรงมดลูก
มารดาหลังคลอด 24 ชั่วโมง
วัตถุประสงค์
เพื่อเฝ้าระวังภาวะติดเชื้อหลังคลอด
เกณฑ์การประเมิน
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
อุณหภูมิร่างกาย 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
ชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ 16-24 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต 90/60-120/80 mmHg
แผลฝีเย็บไม่แดง ไม่บวม ไม่ช้ำเลือด
ไม่มีdischarge ซึม แผลชิดติดกันดี
น้ำคาวปลามีสีแดงจางลงไม่มีกลิ่นเหม็น
ไม่มีอาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว หนาวสั่น
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพและบันทึกทุก4ชั่วโมงเพื่อติดตามอาการของภาวะติดเชื้อหลังคลอด
2.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อหลังคลอด มีไข้
ปวดบริเวณแผลฝีเย็บ น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ประเมินลักษณะน้ำคาวปลาที่ออกมาทางช่องคลอด สีของน้ำคาวปลา ปริมาณ กลิ่น
ดูแลทำความสะอาดแบบ Uiversal precaution โดยก่อนและหลัง
ทำการพยาบาลควรล้างมือทุกครั้ง
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน
ภาวะติดเชื้อหลังคลอด
ควรทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
ปัสสาวะหรืออุจจาระทุกครั้ง
คววรทำความสะอาดใช้สบู่หรือน้ำสะอาดล้างจากหน้าไปหลัง
ควรเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก4ชั่วโมงหรือเมื่อผ้าอนามัยชุ่มควรเปลี่ยนทันที
หากมีอาการผิดปกติ เช่น มีไข้ หนาวสั่น ปวดบริเวณแผลฝีเย็บ
เลือดออกทางช่องคลอด น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็นให้รีบมาพบแพทย์
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินผล
1.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
อุณหภูมิร่างกาย 36.8 องศาเซลเซียส
ชีพจร 80 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ 18 ครั้ง/นาที
ไม่มีปวดศีรษะ ตาพร่ามัว หนาวสั่น
บริเวณแผลฝีเย็บไม่บวมไม่แดงไม่ช้ำ
ไม่มีdischargeซึม แผลชิดติดกัน
น้ำคาวปลามีสีแดงจางลงไม่มีกลิ่นเหม็น
นศพต.อรยา ซำฮกตั้น เลขที่ 59