Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดระดับคะแนนและการรายงานผลการเรียนรู้, image - Coggle Diagram
การกำหนดระดับคะแนนและการรายงานผลการเรียนรู้
เกรดและการตัดเกรด
ตัวบ่งชี้ที่เป็นผลการประเมินอย่างเป็นทางการของครูผู้สอน เพื่อบอกระดับผลการเรียนรู้/ผลการปฏิบัติงานของผู้เรียน ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ในรายวิชา/โปรแกรมการเรียน
จุดมุ่งหมายของการตัดเกรด
ความน่าเชื่อถือ (credit)
ข้อเสนอแนะต่อนักเรียน (Feedback to student)
ข้อเสนอแนะต่อผู้ปกครอง (Feedback to parents):
ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารและครู (Feedback to administrators and teachers):
การจัดตำแหน่ง (Placement)
การรับเข้าเรียน (Admission)
การใช้รางวัลและเกียรตินิยม(Awards and honors)
การคัดเลือก (Selection)
การให้คำปรึกษาทางด้านอาชีพและการเรียน (Academic and career counseling)
แรงจูงใจ (Motivation)
การจ้างงาน (Employment)
เกณฑ์ในการจ้างงาน (Employment criterion)
ระบบการตัดเกรด (grading system)
อิงกลุ่ม
ข้อดี ใช้ง่าย สะดวก เกิดการแข่งขันเพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนแต่ละคน
ข้อจำกัด เกรดขึ้นอยู่กับความสามารถของเพื่อนร่วมชั้น เกิดการแข่งขัน มากกว่า การสร้างความร่วมมือ ผู้เรียนมีแนวโน้มไม่ช่วยเหลือกัน
อิงเกณฑ์
ข้อดี ไม่เกิดความรู้สึกต้องต่อสู้แข่งขันกับเพื่อนคนอื่น ๆ เกรดของผู้เรียนไม่ขึ้นอยู่กับความสามารถของเพื่อนร่วมชั้น
ข้อจำกัด ยากที่ตั้งเกณฑ์การให้คะแนนที่มีความสมเหตุสมผล อย่างไรก็ตามในระบบการเรียนการสอนส่วนใหญ่มีมีเกณฑ์ที่ผู้บริหารตั้งไว้ให้อยู่แล้ว
อิงพัฒนาการ
ผสมผสาน
คะแนนมาตรฐาน
เปลี่ยนหน่วยคะแนนดิบเดิมให้ใหม่ให้เป็นคะแนนชนิดหนึ่ง
นิยมใช้
คะแนน Z
คะแนน T
เปลี่ยนแปลงตามแนวพื้นที่
แจกแจงคะแนนความถี่ นั่นคือดูว่าคะแนนแต่ละตัวมีซ้ำกันเท่าไร จำนวนการซ้ำ เรียกว่า จำนวนความถี่ (frequency ตัวย่อคือ f) แล้วเรียงคะแนนจากน้อยไปหามาก
หาความถี่สะสม (cumulative frequency ตัวย่อคือ cf) จากคะแนนน้อยไปหาคะแนนสูง
หาคะแนนความถี่สะสมลบด้วยครึ่งหนึ่งของความถี่ cf - (f/2)
หาตำแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ (PR)
5) หาตำแหน่งคะแนนมาตรฐานจากตารางการแจกแจงปกติแปลเป็น T
แปลงคะแนนตามแนวเส้นตรง
ประเภทของเกรด
สัญลักษณะของเกรด
เกรดแบบมาตรตรวจสอบรายการ/มาตรประเมินค่า (checklists/rating scales)
คือเกรดบอกเรื่องราว/เกรดบรรยาย (anecdotal/descriptive grades)
ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการตัดเกรด
การตัดเกรดแบบอิงกลุ่ม (norm-referenced grading)
คือ การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ (criterion-referenced grading)
ตามวัตถุประสงค์การใช้เกรด
การตัดเกรดอิงระดับชั้นเรียน (level grading)
การตัดเกรดตามสัญญาการเรียน (learning contract grading)
การตัดเกรดตามโปรแกรมการเรียนเป็นรายบุคคล (individualized educational program grading)
ตามจำนวนเกรดในการตัดเกรด
เกรดระบบได้/ตก (pass/fail grade system)
เกรดแบบพหุระดับ (multiple system)
ตามแหล่งที่มาของข้อมูลที่ใช้ในการตัดเกรด
การตัดเกรดเดี่ยว (single grading)
การตัดเกรดพหุ (multiple grading)
ลักษณะการตัดเกรด
เกรดตัวอักษร (letter grade)
เกรดตัวเลข (numerical grade)
เกรดจัดประเภท (categorical grade)
ตามประเภทผู้ประเมิน
การตัด/ให้เกรดโดยครูผู้สอน (teacher grading)
การให้เกรดโดยกลุ่มเพื่อน (peer grading)
และการให้เกรดตนเอง (self grading)
กลวิธีทั่วไปของการตัดเกรด
การตัดเกรดภายใต้ความรู้และความสามารถของผู้เรียน
หลีกเลี่ยงระบบการตัดเกรดที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการแข่งขันกับเพื่อน และจำกัดจำนวนนักเรียนที่จะสามารถได้ระดับเกรดที่สูง
พยายามที่จะไม่ให้ความสำคัญกับเกรดจนมากเกินไป
บอกให้นักเรียนทราบความก้าวหน้าทางการเรียนของตนเองเป็นระยะตลอดเทอม
การลดข้อร้องเรียนของผู้เรียนในการตัดเกรด
การตัดเกรดที่มีประสิทธิภาพ
การให้ผลป้อนกลับแก่ผู้เรียนเกี่ยวกับผลการสอบ หรือผลการทำงาน
บันทึกคะแนนเป็นตัวเลข มากกว่าการให้คะแนนเป็นตัวอักษรให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ เพื่อใช้ในการคิดเกรดปลายเทอม
ให้โอกาสผู้เรียนในการแก้ไขงานที่ส่ง เพื่อให้ได้รับคะแนนที่ดีขึ้น
หากผู้เรียนส่วนใหญ่มีผลการสอบต่ำ ควรจัดการเรียนการสอนซ่อมเสริม
ปัจจัยที่มีผลต่อความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นของการตัดเกรด
โครงสร้างของการเขียนตอบ
ความคาดหวังต่อผู้เรียนของผู้สอน
ความถูกต้องของไวยกรณ์
บุคลิกภาพของผู้สอน
. คุณภาพของลายมือของผู้เรียน
ความเชื่อเกี่ยวกับการตัดเกรดและการศึกษาของผู้สอน
ประสบการณ์ในการตัดเกรดของผู้สอน
คุณภาพของรายงาน หรืองานที่ได้รับมอบหมายอื่นๆ