มารดา G2P1A0L1 G2 GA 37 wks.
อายุ 37 ปี

แพทย์วินิจฉัย GDM A2

ความต้องการอินซูลินเพิ่มขึ้นในระยะตั้งครรภ์
( hPL มีผลต่อต้านอินซูลิน )
( การเก็บสะสมกลูโคสและทารกนำไปใช้ )

  • การผลิตอินซูลินในตับอ่อน ( beta cells of pancrease ) ไม่เพียงพอ

อินซูลินลดลง

ไม่สามารถนำกลูโคสเข้าเซลล์เพื่อนำไปใช้ให้เป็นพลังงานหรือเก็บสะสม

ส่งผลให้ปัสสาวะ
ความอยากอาหารเพิ่มขึ้นและกระหายน้ำ

ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น

GCT 50 g glucose 152mg/dl

Blood sugar109mg/dl

OGTT(1hr.) 110mg/dl

OGTT(2hr.) 180mg/dl

OGTT(3hr.) 145mg/dl

  • H.Estrogen , Cortisol , Prolactin

กระตุ้นการสังเคราห์แองจิโอเทนซินทู

ขณะตั้งครรภ์ชอบรับประทานอาหารรสหวาน

เมแทบอลิซึมของไขมันและโปรตีนเพิ่มขึ้น

ไตรกลีเซอไรด์และกรดอะมิโนเพิ่มขึ้น

คีโตนเพิ่มขึ้น

ส่งผ่านทางรก

DKA

พัฒนาการทางสมองต่ำลง

ส่งผลให้ทารกเกิดภาวะ Polycythemia ( ภาวะเลือดข้น ) มีการผลิตอินซูลินเพิ่มขึ้น การเจริญเติบโตและการสะสมของไขมันเพิ่มขึ้น ความสมบูรณ์ของปอดลดลง

ทารกแรกเกิดมีภาวะRDS , Jaundice , Hypoglycemia , Macrosomia

Elderly garvida

ตับอ่อนเสื่อมสภาพ

ไขมันอุดตัน

หลอดเลือดแดงตีบแข็ง
ผนังหลอดเลือดแดงหนาขึ้น

หลอดเลือดส่วนปลายมีความต้านทานเพิ่มขึ้น

ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น , ปริมาณการไหลเวียนเลือดลดลง , น้ำออกนอกเส้นเลือดเพิ่มขึ้น

เส้นเลือดหดรัดตัว

การไหลเวียนเลือดลดลง

ไต

หลอดเลือดเสื่อมประสิทธิภาพส่งผลให้การไหลเวียนเลือดของrenal blood flow ลดลง

พลาสมาลดลง

น้ำคั่ง

เรตินา

เส้นเลือดในตาบวม
ส่งผลให้ตาพร่ามัว

จอประสาทตาหลุด

น้ำท่วมปอด
หัวใจล้มเหลว

สมอง

บวม
ขาดเลือดไปเลี้ยง

ปวดศีรษะ

ชัก ไม่รู้สึกตัว

เลือดออกในสมอง

รก

IUGR

รกลอกตัว

ทารกขาดออกซิเจน

ทารกได้รับออกซิเจนลดลง

ตับ

ระบบการไหลเวียนเลือด

เส้นเลือดฝอยและเม็ดเลือดแดงแตก
เกล็ดเลือดต่ำ ไฟบรินเกาะ

เกล็ดเลือดต่ำ

แพทย์วินิจฉัย PIH

ส่งผลให้ปัสสาวะออกน้อย
โซเดียมและโปรตีนคั่งในปัสสาวะ

กรวยไตมีเนื้อตาย

ส่งผลให้เกิดไตวายเฉียบพลัน

เลือดไหลเวียนไปตับลดลง ตับขาดเลือดไปเลี้ยง

ตับบวมและมีการฉีกขาด

เลือดออกใต้แคปซูลตับ

ทารกเสียชีวิต

ส่งผลให้รกที่มีส่วนประกอบของ inhibitor of coagulation and fibrinolysis ซึ่งจะทำหน้าที่ป้อง coagulation ที่ผิดปกติและป้องกัน fibrinolysis ไม่ให้เกิดขึ้น เสื่อมประสิทธิภาพลง

ส่งผลให้เกิดการต่อต้านการทำงานของinhibitor of coagulation and fibrinolysis ทำให้เกิดการกระตุ้นการสลายfibrinเพิ่มขึ้น

ร่างกายของมารดาพยายามcompensatedโดยกระตุ้นการทำงานของclotting factor

ส่งผลให้มีการหลั่งthromboplastin และสารกระตุ้น Fibrinolytic system เข้าสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้น

กระตุ้นให้เกิดการแข็งตัวของเลือดทั่วร่างกาย

มดลูกจะบีบตัวมากขึ้นเพื่อขับร่างทารกที่เสียชีวิตในครรภ์ออก

กล้ามเนื้อมดลูกจะมีการยืดขยายมากขึ้นกระตุ้นให้มีการไหลเวียนโลหิตเพิ่มขึ้น

HEELP syndrone

ตับมีเนื้อตาย

AST เพิ่มขึ้น
ALT เพิ่มขึ้น

AST = 31
ALT = 32

เลือดออกผิดปกติ ( DIC )

มารดาเสียชีวิต

ตับแตก