Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดพัฒนาการมนุษย์และการดูแลตนเอง - Coggle Diagram
แนวคิดพัฒนาการมนุษย์และการดูแลตนเอง
ความหมายจิตวิทยาพัฒนาการ คือแขนงหนึ่งของวิชาจิตวิทยาที่มุ่งศึกษาถึงพฤติกรรมของคนในวัยต่างๆกัน เพื่อให้ได้ทราบว่าบุคคลพัฒนามาอย่างไรในแต่ละช่วงวัย
กระบวนการพัฒนาการมนุษย์
กระบวนการทางชีวภาพเป็นกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของมนุษย์
กระบวนการทางปัญญา เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญา ความคิด และภาษา
กระบวนการทางอารมณ์และสังคมเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นรวมถึงการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และบุคลิกภาพของบุคคล
ลักษณะพัฒนาการ
อัตราพัฒนาการของเด็กแต่ละคนแตกต่างกันธรรมชาติสร้างเด็กแต่ละคนให้มีลักษณะต่างๆกัน
อัตราพัฒนาการส่วนต่างๆของร่างกายแตกต่างกันส่วนต่างๆของร่างกายมีอัตราการเจริญเติบโตที่แตกต่างกัน
พัฒนาการเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่องปรากฏทุกชั่วโมงทุกวันทุกสัปดาห์ทุกเดือนและทุกปี
พัฒนาการของคุณลักษณะต่างๆมักจะสัมพันธ์กันพัฒนาการด้านต่างๆไม่ว่าด้านใดมักจะมีความสัมพันธ์กันเช่นเด็กคนไหนที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดมากมีร่างกายที่สมบูรณ์
พัฒนาการจะเริ่มจากส่วนใหญ่ไปสู่ส่วนย่อยส่วนบนไปสู่ส่วนล่างและส่วนกลางไปสู่ส่วนที่ใกล้ตัวออกไป
พัฒนาการของเด็กอาจทำนายได้อัตราพัฒนาการของเด็กคงที่จึงสามารถทำนายพฤติกรรมของเด็กได้ว่าจะมีพฤติกรรมใดเกิดขึ้นเมื่อใด
พัฒนาการเป็นไปตามแบบฉบับของตนเองไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์จะมีแบบฉบับของพัฒนาการที่เป็นของมันเอง
พัฒนาการที่เป็นปัญหาช่วงวัยหนึ่งอาจเป็นพฤติกรรมที่เป็นปกติของช่วงวัยอื่นที่รำที่เป็นปัญหาที่ผู้ใหญ่ทำที่เป็นปัญหาแต่จริงแล้วที่เป็นปกติของเด็ก
จุดมุ่งหมายของการศึกษาพัฒนาการมนุษย์
เข้าใจตนเองและผู้อื่นทำให้สามารถใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีความสุข
สามารถเผชิญปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงวัยได้อย่างเหมาะสม
เข้าใจลักษณะธรรมชาติของมนุษย์แต่ละวัยว่ามีลักษณะอย่างไร
สามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมพัฒนาการได้
ประโยชน์ของการศึกษาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ
เพื่อการอธิบายเป็นการความรู้และเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เพื่อการบรรยายเป็นการบรรยายบอกพี่ปรากฏว่า
สามารถบอกเล่ากัน
เพื่อการทำนายเป็นการพยากรณ์และเป็นการบอกกล่าวล่วงหน้า
เพื่อการควบคุมเป็นการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างสูงสุดหรือการปรับปรุงธรรมชาติและ
วิธีการศึกษาพัฒนาการมนุษย์
การศึกษาระยะยาวเป็นวิธีการที่ผู้ศึกษาข้อมูลรายละเอียด
เกี่ยวกับอาการของเด็กเพียงคนเดียวติดต่อกันระยะเวลานาน
การศึกษาภาคตัดขวางการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจาก
เด็กที่มีอายุต่างๆกันโดยใช้เวลาศึกษาในเวลาเดียวกัน
การศึกษาแบบมุ่งไปข้างหน้าการวิเคราะห์หาเหตุและผล จะนำมารวมกันและศึกษาในระยะเวลาที่แตกต่างกัน
วิธีทางคลินิกถึงวิธีการที่จะศึกษาในกรณีที่เด็กขึ้น ในผู้ที่ต้องการทราบสาเหตุหรือหาวิธีแก้ไข
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลในจิตวิทยาพัฒนาการ
การสังเกต
การสังเกตตามสภาพเป็นจริง
การสังเกตอย่างไม่เป็นทางการ
สังเกตอย่างมีวัตถุประสงค์
สังเกตในห้องทดลอง
การบันทึกแบบบรรยาย
การบันทึกอย่างมีระบบระเบียบ
การบันทึกพฤติกรรมตรง
การสัมภาษณ์
การเขียนอัตชีวประวัติ
การเขียนเรียงความ
การเขียนบันทึกประจำวัน
การเขียนอนุทิน
การใช้แบบสอบถามหรือแบบสำรวจ
วิธีการศึกษาเด็กเป็นรายกรณี
การระบายความในใจ
ระยะขั้นพัฒนาการของมนุษย์
วัยก่อนคลอดปฏิสนธิ-คลอด
วัยทารกแรกเกิดคลอด-สองสัปดาห์
วัยทารกตอนปลายสองสัปดาห์-2ปี
วัยเด็กตอนต้น2-6ปี
วัยเด็กตอนปลาย6-12 ปี
วัยรุ่น 13-18 ปี
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น 18-40 ปี
วัยกลางคน 40-60 ปี
วัยสูงอายุ 60 ปีเป็นต้นไป
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการมนุษย์
ปัจจัยภายในตัวบุคคล
พันธุกรรม
เพศ
ปัจจัยภายนอกบุคคล
สิ่งแวดล้อม
อาหาร
ปัจจัยทางด้านครอบครัวและวิธีการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
สภาพทางสังคม
วัฒนธรรม
สภาพทางเศรษฐกิจ
ความเจ็บป่วย
สภาพภูมิศาตร์