Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gestational Diabetes Mellitus - Coggle Diagram
Gestational Diabetes Mellitus
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ได้แก่ การชั่งน้ำหนักและประเมินค่าดัชนีมวลกาย (BMI) หรือภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ตรวจครรภ์อาจพบขนาดครรภ์ที่ใหญ่กว่าปกติทารกตัวโตและมีภาวะครรภ์แฝดน้ำ (hydramnios)
กรณีศึกษา :
น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น 13.7 Kg
BMI = 25.19 kg/m2
มารดามีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ตรวจครรภ์พบ size > date (HF 3/4 > ʘ 41 cm. )
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจน้ำตาลในปัสสาวะพบผลบวก
Glucose challenge test (GCT)
Oral glucose tolerance test (OGTT)
HbA1c
กรณีศึกษาได้รับการตรวจ GCT พบว่าได้ 159 mg% ซึ่งมากกว่าปกติ และตรวจ OGTT พบว่าได้ FBS = 81mg% , 1 hr PPBS = 192 mg% , 2 hr PPBS = 171 mg% และ3 hr PPBS = 130 mg% พบว่าค่าผิดปกติทั้งหมด 3 ค่า เข็มแรกไม่เกิน 105 แต่เข็มที่ 3 เกิน 120 แพทย์วินิจฉัยเป็น GDMA1
การซักประวัติ : เกี่ยวกับอายุโรคประจำตัว อาการผิดปกติต่างๆ เช่นปัสสาวะบ่อย ดื่มน้ำมาก หิวบ่อย น้ำหนักลด ติดเชื้อ เป็นต้น พบเบาหวานในการตั้งครรภ์ครั้งก่อนประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว
ประเภท
GDMA1
OGTT ผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป ได้แก่
FBS < 105 mg/dl และ 2 hr < 120 mg/dl
กรณีศึกษาเป็น GDMA1
ได้รับการรักษาโดยการควบคุมอาหาร
GDMA2
OGTT ผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป ได้แก่
FBS > 105 mg/dl และ 2 hr > 120 mg/dl
ผลกระทบ
มารดา
ครรภ์แฝดน้ำ (hydramnios)
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
การติดเชื้อ
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ภาวะ hypo-perglycemia
การคลอดยาก (dystocia)
การตกเลือดหลังคลอด
จากกรณีศึกษา : มารดามีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์และเกิดภาวะคลอดยากเป็นCPD
ทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ภาวะหายใจลำบาก (RDS)
ทารกตัวโตกว่าปกติ (macrosomia)
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (neonatal hypoglycemia)
ความพิการแต่กำเนิด (congenital anomalies)
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ (hypocalcemia)
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (intrauterine fetal death)
จากกรณีศึกษา : ทารกหนัก 4,360 กรัม
การเปลี่ยนแปลงของเมตาโบลิซึม
ไตรมาสแรก : เกิดภาวะ Hypoglycemia เนื่องจาก ฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนที่สร้างจากรกจะกระตุ้นให้มีการสร้างอินซูลิน เพื่อเพิ่มปริมาณการใช้กลูโคสทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดในระยะนี้ลดลง และสตรีตั้งครรภ์รับประทานอาหารได้น้อยลงเนื่องจากคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
ไตรมาสที่สองและสาม : เกิดภาวะ Hyperglycemia เนื่องจาก มีการหลั่งฮอร์โมน HPL , Cortisol , Prolactin ซึ่งฮอร์โมนเหล่านี้จะทำให้เกิดการดื้ออินซูลิน ลดความทนต่อกลูโคส การสะสมกลัยโคเจนในตับลดลง ขณะที่ตับสร้างกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดมากขึ้น
หลังรกคลอดความต้องการอินซูลินจะลดระดับลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากฮอร์โมนที่รกสร้างลดระดับลง ทำให้เกิดภาวะ Hypoglrcemia