Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy) - Coggle Diagram
ครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy)
อาการและอาการแสดง
เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด พบร้อยละ 97
เป็นสีเข้มแดง (prune-juice color)
การลอกตัวของ molar tissue แล้วถูก oxidize
อาการของการตั้งครรภ์ พบร้อยละ 2
ระดูขาด
คลื่นไส้อาเจียนรุนแรง จนเกิดภาวะ electrolyte imbalance
ภาวะครรภ์เป็นพิษ พบร้อยละ 12-27
ความดันโลหิตสูง
บวม
พบโปรตีนในปัสสาวะ
มีภาวะ hyper-reflexia
Hyperthyroidism พบร้อยละ 10-20
free T3 , free T4 สูง
TSH ต่ำ
ขนาดมดลูกโตผิดปกติ
Theca lutein cyst พบร้อยละ 25-33
เกิดจากระดับ hCG ที่สูงมากๆ
รังไข่ทั้ง 2 ข้าง เป็นถุงน้ำ
Trophoblastic embolization พบร้อยละ 2
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หายใจเร็ว
หัวใจเต้นเร็ว
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจภายใน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเจาะเลือดตรวจหาระดับ hCG
tumor maker hCG > 100,000 m IU/ml
การตรวจพิเศษ
Pelvic Ultrasonography
พบถุงน้ำสีขาวจำนวนมาก (snow storm pattern)
Chest X-ray
มี bilateral pulmonary information
มีอาการ Trophoblastic embolization
Amniography ฉีสารทึบแสงเข้าไปในโพรงมดลูก
ถ่ายถ่าย X-ray แต่ปัจจุบันไม่นิยมทำแล้ว
การรักษา
การทำให้ภาวะตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
Uterine curettage ขูดมดลูก อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์
Suction curettage อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ และให้ O2 หลังขูด 24 ชั่วโมงลดการเสียเลือด
Hysterotomy ปัจจุบันไม่นิยมทำเพราะเสียเลือดมาก
Hysterectomy ในผู้ป่วยที่ไม่ต้องการมีบุตรอีก อายุ>35 ปี
Hysterotomy with mole in situ เสี่ยงต่อการเสียเลือด
Hysterotomy after suction curettage
การให้ยาเคมีบำบัด
การนัดตรวจติดตามการรักษาภายใน 2 ปีแรก
ติดตามดูระดับ hCG ทุก 1-2 สัปดาห์อย่างน้อย 3 ครั้ง
ตรวจเดือนละครั้งจนครบ 6 เดือน
ตรวจทุกๆ 2 เกือนจนครบ 1 ปี
ใช้ยาคุมกำเนิดอย่างน้อย 1 ปี
ความหมาย
เหมือนการตั้งครรภ์ธรรมดา
แต่ไม่มีทารกอยู่ในครรภ์ มีเพียงถุงน้ำคล้ายไข่ปลา
สามารถพัฒนาไปเป็นมะเร็ง
ได้หากไม่ได้รับการรักษาตั้งแต่ต้น
เป็นความผิดปกติภายใน
ไข่ของคุณแม่ที่ไม่มีสารพันธุกรรม
พบในหญิงตั้งครรภ์อายุน้อยไปเลยหรืออายุมากไปเลย