Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Benign Prostatic Hyperplasia (BPH), S__53600259 - Coggle Diagram
Benign Prostatic Hyperplasia (BPH)
อาการและอาการแสดง :
ปัสสาวะผิดปกติ
ถ่ายปัสสาวะนาน ปัสสาวะไม่พุ่ง
ปัสสาวะไม่ออกในทันทีหรือค่อยเป็นค่อยไป ต้องออกแรงเบ่งหรือรออยู่นานกว่าจะถ่ายปัสสาวะออกมาได้
ปัสสาวะลําบาก
ปัสสาวะออกเป็นหยดๆ ในช่วงท้ายของการถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะกะปริบกะปรอย
ลําปัสสาวะเบี้ยวหรือเล็กลง มีความรู้สึกเหมือนถ่ายปัสสาวะไม่สุด
ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้
ปัสสาวะบ่อย
ภาวะแทรกซ้อน
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ไตวาย
กรวยไตอักเสบ
ผนังกระเพาะปัสสาวะหย่อนยานหรือเป็นถุงโป่งพอง
อาจทําให้ท่อไตและไตบวม
เกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
มีความรู้สึกปวดปัสสาวะ ปวดตึงท้องน้อย
คลําได้ก้อนที่กระเพาะปัสสาวะที่มีปัสสาวะคังอยู่เต็ม
สาเหตุ
Dihydrotestosterone hormone
อายุมากกวา่ 40 ปีขึ้นไป
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
DRE-พบต่อมลูกหมากโต
Intravenous urography – IVU
Cystoscopy
Ultrasound
Lab
Urine analysis U/A
Urobilinogen 2+ (ปกติ 0.3-1.0 EV/dL)
Protein 1+ (ปกติ ตรวจไม่พบ)
Leukocyte 3+ (ปกติ ตรวจไม่พบ)
Blood 5+ (ปกติ ตรวจไม่พบ)
Bililubin 2+ (ปกติ ตรวจไม่พบ)
WBC 10-20 (ปกติ ตรวจไม่พบ)
RBC 50-100 (ปกติ ตรวจไม่พบ)
Kidney
Cr. 1.59 (ปกติ 0.6 - 1.2 mg/dL)
eGFR 36.46
Stage 1 มากกว่าหรือเท่ากับ 90 %
2 มากกว่าหรือเท่ากับ 60-89%
3มากกว่าหรือเท่ากับ 30-59%
4มากกว่าหรือเท่ากับ 15-29%
5น้อยกว่าหรือเท่ากับ 15%
BUN 30 (ปกติ 20 - 30 mg/dL)
การซักประวัติ
2 ปีก่อนมา ปัสสาวะไม่ค่อยออก ต้องเบ่งปัสสาวะใช้เวลานานในการปัสสาวะ กลั้นปัสสาวะไม่ได้ปัสสาวะกลางคืน ประมาณ 10 ครั้ง
การพยาบาล
ดูแลระวังการเกิดภาวะช็อคหลังผ่าตัด
สังเกตุลักษณะและสีของปัสสาวะ
V/S 15min 4 ครั้ง 30 min 2 ครั้ง และ 1 hr จน stable
บันทึกสารน้ำเข้าออก
สอนวิธีบริหารกล้ามเนื้อฝีเย็บให้ขมิบทวารหนัก
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด
ดูแลให้ยาปฏิชวีนะ
แนะนำให้ดื่มน้ำ 1500-2000 ml
การรักษา
การรักษาทางศัลยกรรม
ข้อบ่งชี้
มีเลือดออกบ่อยๆ
เกิดนิ่ว
เกิดการโป่งขยาย (Diverticulum) ของกระเพาะปัสสาวะ
มีการถ่ายปัสสาวะไม่ออกอย่างกระทันหันเกิดขึ้นบ่อยๆ
ปัสสาวะเหลือค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะมากกวา่ 100 ซีซี
ถ่ายปัสสาวะบ่อยมากจนไม่ได้พักผ่อน
Suprapubic prostatectomy การผ่าตัดโดยการเปิดเข้าทางหน้าท้อง
Retropubic prostatectomy-ห้ามเลือดได้ดีมากเหมาะสําหรับก้อนเนื้องอกที่ใหญ่
Transperineal prostatectomy-เหมาะสําหรับต่อมที่ไม่ใหญ่นักทํายากมีโอกาสเกิดทวารหนักทะลุได้ง่าย
Trans urethral resection -TUR-ตัดเนื้องอกออกเป็นชนิดเล็กๆโดยดการส่องกล้อง แล้วล้างออกมีภาวะแทรกซ้อนมากกว่า แต่หายเร็วเหมาะกับเนื้องอกก้อนเล็ก
การดูแลแบบประคับประคอง
ถ่ายปัสสาวะลําบาก หรือไม่ออกใช้สายยางสวนออกเป็นครั้งคราว
ถ้ามีอาการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ ให้ยาปฏิชีวนะ
พักผ่อนออกกำลังกาย
รับประทานอาหารที่มีกากใย