Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1.1 :check: - Coggle Diagram
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1.1
:check:
ความสำเร็จ
:confetti_ball:
อพท. 5
:star:
สิ่งที่ทำสำเร็จ :checkered_flag:
การบูรณาการจริงๆ
มีการเปลี่ยนแปลงมุมคิดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สามารถแก้ไขปัญหาใส่บาตรข้าวเหนียวได้ (ฟื้นฟู)
เจ้าหน้าที่มีความเข้าใจประบวนการ ร่วมกันมองเป้าหมายเดียวกันอย่างแท้จริง
เชียงคานได้รับการยอมรับ สร้างความภาคภูมิใจให้คนในพื้นที่
เพราะอะไรจึงสำเร็จ :tada:
เกิดการยอมรับปัญหาของชุมชน
ค้นหา Key person
เห็นปัญหา
โควิด หยุดชะงัก
เจ้าหน้าที่คุยกัน และวางแผนปรับแผนงานกันบ่อยมาก
ลงพื้นที่ในทุกขั้นตอน (เตรียมการวางแผน / ดำเนินงาน / ติดตาม ถอดบทเรียน)
เห็นเป้าหมายร่วมกัน (เจ้าหน้าที่และชุมชน)
อพท. 6
:star:
สิ่งที่ทำสำเร็จ :checkered_flag:
ได้รับรางวัล Top 100
การขับเคลื่อน GSTC
Top 100 เป็นนโยบายเร่งด่วนของ ผู้ว่าฯจังหวัดน่าน
เพราะอะไรจึงสำเร็จ :tada:
ความตั้งใจจริง และ Co creation
การบูรณาการกับภาคีพัฒนาภายใน อพท.6 ภายใน อพท และภายในพื้นที่่ (คณะกรรมการฯ GSTC)
การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา
จังหวัดน่านเห็นความสำคัญของการพัฒนาการท่องเที่ยวตามเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลกในพื้นที่จังหวัดน่าน
อพท. 4
:star:
สิ่งที่ทำสำเร็จ :checkered_flag:
ผลการศึกษา / สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
ในขั้นตอนการประสานงานเพื่อส่งเสริม / สนับสนุนภาคีต่างๆนั้น ตัวชี้วัดนี้ทำให้เรามีเป้าหมายที่ชัดเจนมากขึ้นในการเข้าไปพูดคุย /เจรจา
เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีหน่วยบริหารเฉพาะ (ไม่ใช่ท้องถิ่น) จะมีการดำเนินการที่ดีอยู่แล้ว และเป็นภาคีที่ดีกับ อพท.4
เพราะอะไรจึงสำเร็จ :tada:
เป็นข้อมูลที่เหนือความคาดหมาย ได้รู้มากขึ้น และเป็นข้อมูลที่จะนำไปขับเคลื่อนต่อได้ โดยคนในชุมชนและผู้ดูแลแหล่งให้ความสนใจอย่างมาก
เพราะน่าจะทำให้ เรา และเขา เห็นภาพปลายอุโมงค์ร่วมกัน
หน่วยงานนั้นเป็นภาคีที่ดีมากกับ อพท. 4
อพท. 7
:star:
สิ่งที่ทำสำเร็จ :checkered_flag:
ความร่วมมือของภาคีทุกระดับ
การบริหารแผน / งานภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉิน
C6 ทรัพย์สินทางปัญญา
เพราะอะไรจึงสำเร็จ :tada:
สามารถยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชนและผู้ประกอบการในพื้นที่ให้สามารถผลิตได้จริง และแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพื้นที่อย่างชัดเจน นำไปจดลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาได้
มีการประสานงานพูดคุยอย่างใกล้ชิด และติดตามความก้าวหน้าและความสำเร็จอย่างต่อเนื่อง
ความร่วมมือจากทั้งภายในและนอกองค์กร และมีความยืนหยุ่น / ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
อพท. 3 (สาขา)
:star:
เพราะอะไรจึงสำเร็จ :tada:
ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมและบูรณาการทำงานร่วมกัน
สิ่งที่ทำสำเร็จ :checkered_flag:
การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
อพท. 3 :star:
เพราะอะไรจึงสำเร็จ :tada:
การประสานงานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่
สิ่งที่ทำสำเร็จ :checkered_flag:
การมีส่วนร่วมของเมืองพัทยาและเจ้าหน้าที่
บทเรียน
:explode:
อพท. 5
:star:
เพราะอะไรจึงเกิดปัญหา
:question:
การเมือง ผลประโยชน์ ความหลากหลายของท้องถิ่น
เป็นเรื่องใหม่
ขาดข้อมูล บริบท ของคนในพื้นที่
ถ้าทำได้อีกครั้งจะทำอย่างไร
:check:
ทำเหมือนเดิมให้เต็มที่ และจะทำให้ดีกว่าเดิม
ปัญหา
:warning:
ภายใน
กลุ่มเป้าหมายยังไม่ครอบคลุม หาคนใช้ยาก
ขาดยุทธศาสตร์หลักในพื้นที่ทำให้ต่างคน ต่างทำ
การแปลง GSTC สู่การปฏิบัติที่ยังไม่ชัดเจนในระยะแรก
ภายนอก
เงื่อนไขทางกฎหมายของพื้นที่
นโยบายของหน่วยงานอื่นไม่ได้ถูกส่งต่อในระดับพื้นที่ (จากระดับมหภาค)
ผู้ประกอบการบังคับใช้กฎหมายไม่เพียงพอ
ความทับซ้อนของกฎหมาย ความไม่ครอบคลุม / ชัดเจน
ขาดองค์ความรู้ เป็นเรื่องใหม่ ความไม่เข้าใจของคนในพื้นที่ / ผู้รับจ้าง
ความขัดแย้งของคนในพื้นที่
อพท. 6
:star:
เพราะอะไรจึงเกิดปัญหา
:question:
ไม่เปิดใจรับงาน / ไม่รับฟังข้อเสนอแนะ
การสื่อสารของการได้มาซึ่งข้อมูล
เป็นเรื่องใหม่ของพื้นที่ / องค์กร
ข้อมูลดิบไม่มีการวิเคราะห์
ถ้าทำอีกครั้งจะทำอย่างไร
:check:
สร้างแพลตฟอร์มของข้อมูล
ประสานการให้ได้มาซึ่งข้อมูลของหน่วยงานให้ตรงกับภารกิจหน้าที่
ทำความเข้าใจใหม่อีกครั้ง
ทำตามลำดับขั้นตอน / ความสำคัญตามเกณฑ์ (สมัครให้เร็วขึ้น)
ปัญหา
:warning:
ข้อมูลไม่ตรง
ความเข้าใจในงานไม่เท่ากัน
ความชัดเจน / รายละเอียดการยกระดับสี Top 100
อพท. 4
:star:
ถ้าทำได้อีกครั้งจะทำอย่างไร
:check:
ต้องมีเจ้าหน้าที่พัฒนาพื้นที่ (GSTC) ใน DNA
แปลเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย (เข้าใจ) เขาเกี่ยวข้องกับเรื่องที่เราจะทำอย่างเป็นปกติ อาจสร้างเงื่อนไข สร้างแรงจูงใจปลายน้ำ
สร้างคนในแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ภายนอก)
เพราะอะไรจึงเกิดปัญหา
:question:
ใน 1 หน่วยงานต้องมีการประสานงานหลายฝ่าย
หน่วยงานภาคีไม่ได้มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระเบียบ
อ้างว่าข้อมูลเป็นความลับ
ปัญหา
:warning:
เรื่องราวของ GSTC
ต้นน้ำ สร้างกระแสให้เกิดขึ้น
กลางน้ำ ทำ 41 ข้อ
ปลายน้ำ เกิดผลสัมฤทธิ์
ตัวแหล่งท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์ไม่มีข้อมูล
การได้มาซึ่งข้อมูลจากภาคี เทศบาลตำบลเมืองเก่า ได้มายาก / ไม่ได้เลย
อพท. 3 (สาขา)
:star:
เพราะอะไรจึงเกิดปัญหา
:question:
เก็บเอกสารข้อมูลไม่เป็นระบบ / ไม่มีหลักฐาน
ยังไม่มีองค์ความรู้
การบริหารที่ผ่านมาไม่ประสบความสำเร็จ
มีความเป็นชุมชนเมือง ยังเข้าไม่ภึงผู้แทนชุมชนบางกลุ่ม
ถ้าทำได้อีกครั้งจะทำอย่างไร
:check:
สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมมากขึ้น
จัดประชุม / อบรม
ออกแบบการจัดเก็บฐานข้อมูล
PR / สร้างการรับรู้
ปัญหา
:warning:
การจัดเก็บเอกสารข้อมูล
ความไม่เข้าใจของคนในชุมชน / คณะกรรมการขับเคลื่อน
การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
ภาพลักษณ์การบริหารของเมืองพัทยา
อพท. 7
:star:
เพราะอะไรจึงเกิดปัญหา
:question:
?
คู่มือในการยกระดับสีกับบริบทของพื้นที่บางข้อไม่สัมพันธ์กันทั้ง GSTC และ TOP 100
เชิงนโยบายของหน่วยงานหลักไม่ได้ขับเคลื่อน GSTC มาตั้งแต่ข้างบน
ถ้าทำได้อีกครั้งจะทำอย่างไร
:check:
ควรมีคู่มือและคณะทำงานจัดทำคู่มือที่ศึกษาความเหมาะสมของบริบทในแต่ละพื้นที่
ควรมีการพูดคุย หารือรายละเอียดต่างๆให้ตรงกัน เลือกมาให้ตรงกับบทบาทภารกิจขององค์กร / พื้นที่ / หน่วยงานครอบคลุมกับงบประมาณ
?
ปัญหา
:warning:
การพัฒนา GSTC ที่ตัวชี้วัดผลผลิตระดับกิจกรรมไม่สัมพันธ์กับตัวชี้วัดที่คาดหวังขององค์กร เช่น รายได้
GSTC เป็นเครื่องมือที่มีผลกับเฉพาะ อพท. โดยตรงแต่เราต้องการความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น จะไปให้ใครช่วยทำโดยที่เขาไม่ได้อะไรเป็นสิ่งตอบแทน (ยาก)
ความชัดเจน และรายละเอียดการปรับระดับสี
อพท. 3
:star:
เพราะอะไรจึงเกิดปัญหา
:question:
คณะกรรมการชุดใหญ่ที่ไม่สามารถลงมาขับเคลื่อนในพื้นที่ได้จริง
ไม่มีหน่วยงานหลักในการรวบรวมจัดทำข้อมูลและเผยแพร่
คนในพื้นที่ยังไม่ได้รับผลประโยชน์
ถ้าทำได้อีกครั้งจะทำอย่างไร
:check:
แต่งตั้งคณะทำงานชุดเล็กภายใต้คณะกรรมการชุดใหญ่เพื่อขับเคลื่อนการทำงานจริงในพื้นที่
จ้างผู้เชี่ยวชาญดำเนินการจัดทำข้อมูลและเผยแพร่และส่งมอบให้กับหน่วยงานที่รับผิดชอบ
สื่อสารทำความเข้าใจและให้คนในพื้นที่ร่วมคิด / ทำ รับผลประโยชน์
ปัญหา
:warning:
รายงานทรัพย์สินของแหล่งท่องเที่ยว
การขับเคลื่อนแผน
คน
ปัจจัยความสำเร็จ
:smiley:
เกิดการมองเห็นปัญหาร่วมกันระหว่าง อพท. และภาคีร่วม
ความสม่ำเสมอในการการพูดคุย สื่อสาร ร่วมกันระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร และภาคีร่วมดำเนินงาน
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจเป้าหมายในการดำเนินงาน
การมีส่วนร่วม บูรณาการทำงาน
องค์กรมีตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายในการดำเนินงานที่ชัดเจน
การประสานงาน
Key Person เข้าหาถูกคน ค้นพบคน / หน่วยงานที่มีบทบาทหลักที่ดำเนินงานหน้าที่นั้นๆ
การสนับสนุนจากผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชา
ปัญหา
:warning:
ขาดการแสดงความสำเร็จที่เป็นรูปธรรม (เห็นชัดเจน)
การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการท่องเที่ยว
ข้อมูลกระจาย ยังไม่ครบถ้วน
การประสานขอข้อมูลกับหน่วยงานภาคี
ฐานข้อมูลที่สามารถเรียกใช้งานได้
ขาดการสื่อสารการมองเป้าหมายด้านการท่องเที่ยวร่วมกัน ด้วยการใช้ข้อมูล
ปัญหาภายในองค์กร
ขาดความชัดเจนระดับนโยบาย อพท.
เจ้าหน้าที่ขาดองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ
ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการท่องเที่ยว
ความเข้าใจเรื่องแผนการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์
ระยะเวลาในการดำเนินงานไม่เพียงพอ
ภาคีร่วมดำเนินงาน
ขาดการสื่อสาร เพื่อสร้างการรับรู้ และความเข้าใจ
ขาดการสร้างให้เห็นผลประโยชน์ร่วมกันจากการดำเนินงานของ อพท.
ขาดองค์ความรู้ด้านการท่องเที่ยวยั่งยืน