Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 สิ่งแวดล้อมดีชีวีมีสุข - Coggle Diagram
บทที่ 6 สิ่งแวดล้อมดีชีวีมีสุข
ปัญหาสิ่งแวดล้อม ผลกระทบและความเสี่ยงต่อสุขภาพของคนไทย
การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของประชากรในเขตเมืองเป็นเหตุให้หน่วยงานระดับท้องถิ่นไม่สามารถเอาใจใส่ดูแลและให้บริการได้อย่างเพียงพอ
แหล่งน้ำตามธรรมชาติไม่สามารถรองรับของเสียจากมนุษย์และโรงงานอุตสาหรรมที่ปล่อยน้ำทิ้งลงไป
อันตรายและความเสี่ยงสุขภาพของคนไทยพบโรคติดเชื้อที่มีจำนวนมากส่วนใหญ่จะเป็นโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจและโรคติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร
สถานการณ์มลพิษในประเทศไทย
สถานการณ์คุณภาพน้ำ
มีแหล่งจากแม่น้ำที่มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานในประเภทที่กำหนดเหลือเพียง 5 สาย ได้แก่ แม่น้ำวัง แม่น้ำเลย แม่น้ำตราด แม่น้ำตรังและแม่น้ำระยองตอนล่าง จากแม่น้ำทั้งหมด 59 สาย
สถานการณ์คุณภาพอากาศ
ดูคุณภาพอากาศพื้นที่ส่วนใหญ่พบปัญหาฝุ่นละออง ก๊าซโอโซนและสารอินทรีย์ระเหยง่าย
สถานการณ์ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
ขยะมูลฝอยตกค้างสะสมทั่วประเทศลดลงเหลือ 14.8 ล้านตัน มีของเสียอัันตรายเกิดขึ้นทั่วประเทศปรัชะมาณ 2.69 ล้านตัน
การป้องกันและแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชน
รู้จักจัดการของเสียภายในบ้านเรือน
แยกแยะขยะครัวเรือนหรือแยกทิ้งขยะ ณ แหล่งกำเนิด
ลดการนำขยะเข้าบ้านลดการนำขยะเข้าบ้าน
มีถังขยะประจำบ้าน
ทิ้งขยะให้ถูกที่
ลดประมาณการผลิตขยะมูลฝอยในแต่ละวัน
จัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครหรือชมรมกิจกรรม/โครงการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่
การป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ
การแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง
ควบคุมฝุ่นละอองจากแหล่งกำเนิด
ป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองจากรถบรรทุก
ผู้เป็นเจ้าของและขับขี่ยานพาหนะควรเอาใจใส่ดูแลรักษาเครื่องยนตร์
ช่วยกันรักษาสภาพธรรมชาติให้คงความสมบูรณ์ไว้มากที่สุด ไม่ตัดไม้ทำลายป่า
ลดปริมาณควันขาวจากรถยนตร์
ไม่เผาเศษเหลือจากการเกษตรในพื้นที่เกษตรและการเผาขยะมูลฝอยเศษใบไม้พื้นที่ชุมชน
การป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางน้ำ
ไม่ใช้ผงซักฟอกมากเกินไปในการซักผ้า
คราบเศษอาหารที่ติดจานควรใช้กระดาษเก่าๆหรือผ้าขี้ริ้วเช็ดออกให้หมด
ไม่ใช้น้ำยาล้างจานมากเกินไปโดยไม่จำเป็น
พิจารณาเรื่องน้ำยาซักล้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
หน้าที่
ความรับผิดชอบในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ต้องเริ่มที่ชุมชนครัวเรือนที่ต้องหันมาแก้ไขปัญหาโดยการทำความสะอาด ปัดกวาด จัดการของเสียในบ้านในชุมชนของเราให้สะอาดสวยงามน่าอยู่
กฏบัตรออตตาวาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
การเพิ่มความสามารถของชุมชน
การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
สร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ
การปรับระบบบริการสาธารณสุข