Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 ทักษะการสื่อสารสำหรับครู, นางสาวฮูดา ขาเดร์ เลขที่ 25 - Coggle…
บทที่ 14 ทักษะการสื่อสารสำหรับครู
การแสดงความเข้มแข็ง
การชี้ให้เห็นปัญหา
ชี้แจงพฤติกรรมของผู้เรียนที่กำลังเกิดขึ้น
บอกผลกระทบของพฤติกรรมดังกล่าว
ขอให้ผู้เรียนยกมือแล้วผู้สอนเรียนชื่อให้ตอบ
การคุยกันและส่งข้อความกันในระหว่างการอภิปรายจะรบกวนผู้เรียนอื่นๆที่กำลังเรียน
การเดินไปรอบรอบห้องจะรบกวนคนอื่นอื่น
การพูดคำหยาบคาย
ข้อสังเกต
ครูต้องไม่เปิดน้ำหรือดุว่าให้ผู้เรียนเสียหายเพราะคำด่าจะเป็นอุปสรรคขัดข้องต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ดีขึ้น
ภาษาท่าทาง
ดูตาผู้เรียน
การเข้าใกล้ผู้เรียนแต่ไม่ไกลจนเกินไปจนผู้เรียนกลัว
ต้องแสดงสีหน้าลักษณะในหน้าให้เหมาะสมพร้อมน้ำเสียงที่เหมาะสม
การให้ได้มาซึ่งพฤติกรรมที่เหมาะสม
พูดผู้เรียนอาจจะบ่ายเบี่ยงในรูปแบบหรือลักษณะต่างๆเช่น
ปฏิเสธที่จะทำ
โทษคนอื่น
แก้ตัว
โต้แย้ง
เมื่อมีปัญหาดังกล่าวครูต้องรู้สึกว่าผู้เรียนอาจมีเหตุผลต่างๆแต่ต้องไม่แก้ตัว
ครูต้องไม่หลงประเด็น
ไม่ปล่อยให้ยืดเยื้อ
การแสดงความเห็นอกเห็นใจ
เป็นทักษะที่ให้แสดงเห็นว่า
ครูตระหนักสนใจ
ยอมรับฟังและตั้งใจที่จะทำความเข้าใจ
ครูควรมีพฤติกรรมเพื่อการแก้ปัญหา
การฟังอย่างเห็นอกเห็นใจ
ทักษะการฟัง
อาจใช้เสียงอ๋ออย่างนั้นเล่ามาสิ
ยอมรับการแสดงออกทางอารมณ์ความคิด
การฟังโดยตั้งใจแสดงอาการสนใจ
การพยักหน้าจ้องดูตาและภาษาท่าทาง
กระบวนการ
อาศัยความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลข้อความที่ครูได้รับ
หลีกเลี่ยงการโต้แย้งยอมรับปัญหา
ครูควรเป็นผู้ฟัง
ผู้ช่วยเหลือแทนที่จะเป็นฝ่ายตรงข้าม
การแก้ปัญหา
กระบวนการที่ใช้ในการจัดการและแก้ไขความขัดแย้ง
ขั้นตอนในการแก้ปัญหา
กำหนดปัญหา
ชี้ปัญหา
วัดระดับความร่วมมือ
พูดคุยบอกวัตถุประสงค์
แสดงความคิดเห็น
หาแนวทางการแก้ปัญหา
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเสนอแนวทาง
ถ้าผู้เรียนไม่สามารถทำได้คุณเสนอวิธี
เลือกแนวทาง
ครูให้ผู้เรียนยอมรับแนวทางแก้ปัญหา
ปฏิบัติตามระยะเวลาที่กำหนด
ผู้เรียนสัญญาด้วยวาจาและจะเขียน
ถ้าปัญหาที่กำหนดไม่สามารถแก้ได้ครูอาจดำเนินตามแนวทางอื่น
กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่หนึ่งการพัฒนาศักย์ทักษะความเข้มแข็ง
ขั้นที่หนึ่งให้เขียนปัญหาให้ชัดเจนแล้วเปรียบเทียบ
ชั้นที่สองใช้บทบาทสมมติตามสถานการณ์
ขั้นที่สามให้รับข้อมูลย้อนกลับ
กิจกรรมที่สอ producing empathetic Response
ผู้แสดงเป็นผู้เรียนที่พยายามแสดงให้บวชสมบทบาทที่สุด
ให้ทำร่วมกับคนอื่นด้วยผักการแสดงบทบาทเป็นครูผู้เรียน
ผู้แสดงเป็นครูที่ฝึกทักษะการแสดงความเห็นอกเห็นใจ
การสนทนากำลังเกิดขึ้นในเวลาสถานที่ที่เหมาะสม
กิจกรรมที่สามการฝึกการแก้ปัญหา
เปิดโอกาสที่จะช่วยให้ผู้เรียนคิดหาแนวทางการแก้ปัญหา
สมมุติว่าการตอบสนองหลักจากการฟังของครูสร้างความพอใจ
ใช้บทบาทสมมติในการแก้ปัญหาตามขั้นตอนต่างๆ
ผู้เรียนเป็นผู้ประเชิญปัญหารับรู้ปัญหา
การวิเคราะห์บทสนทนา
อะไรบ้างที่ควรนำมาใช้ในการแก้ปัญหา
มีข้อดีข้อเสียอะไรบ้างอย่างไร
ขั้นตอนใดอย่างไรอย่างเหมาะสมหรือไม่
ความเข้มแข็งและการแสดงความเห็นใจ
นางสาวฮูดา ขาเดร์ เลขที่ 25