Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนและการควบคุมงานบริหาร, นางสาวมนฑกานต์ วงจันทา สาขาการจัดการ -…
การวางแผนและการควบคุมงานบริหาร
บทที่ 1แนวคิดพื้นฐานการวางแผน
ความหมายและความสำคัญของการวางแผน
กระบวนการในการกำหนดวัตถุประสงค์และวิธีการ
ว่าจะทำอย่างไรให้บรรลุวัตถุประสงค์นั้น
วัตถุประสงค์ในการวางแผน
• รู้ทิศทางในการดำเนินงาน
• ลดความไม่แน่นอนลง
• ลดความเสียหายการซ้้ำซ้อนกันของงานที่ทำ
• มาตรฐานในการควบคุม
ข้อดีของการวางแผน
• ปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นลดความไม่แน่นอนลง
• ปรับปรุงการประสานงานให้ดีขึ้น
• ปรับปรุงการควบคุมให้ดีขึ้น
• ปรับปรุงการบริหารเวลาให้ดีขึ้น
การวางแผนกับการบริหารเวลา
• เวลาที่ใช้กับหัวหน้าหรือผู้บังคับบัญชา (BossImposed Time)
• เวลาที่ใช้กับระบบ (System-Imposed Time)
• เวลาที่ใช้กับตัวเอง (Self-Imposed Time)
หลักสั้นๆ ในการบริหารเวลาของผู้บริหาร
• รู้จักปฏิเสธคน
• อย่าเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับงานที่ต้องทำเป็น
ประจำวัน
• จัดลำดับงาน
• อย่าให้อะไรมาขัดขวางการทำงาน
• มีคนกลั่นรองงานก่อน
• ท าตามแผนงาน
• อย่าให้แขกที่แวะมาเยี่ยมหรือไม่ได้นัด
หมายมาขัดจังหวะ
การวางแผนกับความไม่แน่นอน
• ผู้ป้องกันตัวเอง (defender)
• ผู้แสวงหา (prospector)
• ผู้วิเคราะห์(analyzer)
• ผู้ตอบโต้ (reactor)
กระบวนการวางแผน
• การวิเคราะห์สถานการณ์
• การกำหนดวัตถุประสงค์ของแผน
• การประเมินวัตถุประสงค์และแผน
• การเลือกวัตถุประสงค์และแผน
• การนำไปใช้
• การตรวจสอบและควบคุม
ประเภทของแผน
• การแบ่งตามระยะเวลา (Time horizon)
• การแบ่งตามขอบเขตของกิจกรรมที่ทำ
(scope of activity)
• การแบ่งตามการนำไปใช้ (frequency of use)
วิธีการวางแผน
• การวางแผนจากข้างในไปข้างนอก และ
จากข้างนอกมาข้างใน (inside-out and
outside-in planning)
• การวางแผนจากบนลงล่างและจากล่างขึ้น
บน (top-down and bottom-up
planning)
• การวางแผนเพื่อความไม่แน่นอน
(contingency planning)
บทที่ 2 เครื่องมือและเทคนิคในการวางแผน
การพิจารณาสภาพแวดล้อม
(Environmental Scanning)
• การพิจารณาสภาพแวดล้อม
• การวิเคราะห์ในภาพกว้าง (Scenario)
เทคนิคการพยากรณ์
• การคาดการณ์เชิงปริมาณ
(Quantitative Forecasting)
• การคาดการณ์เชิงคุณภาพ
(Qualitative Forecasting)
การคาดการณ์อย่างมีประสิทธิภาพ
• ใช้เทคนิคการพยากรณ์แบบง่าย
• เปรียบเทียบการพยากรณ์
• ไม่ควรใช้ผลการพยากรณ์เพียงวิธีเดียว
• ไม่ควรตั้งสมมุติฐานเอง
• ลดระยะเวลาการพยากรณ์ให้สั้นลง
การวิเคราะห์ตนเองเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน
(Benchmarking)
เชื่อมโยงการวิเคราะห์กับวัตถุประสงค์ของบริษัท
ก าหนดขนาดของทีมงานที่เหมาะสมระหว่าง 6-8 คนจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด
แต่งตั้งผู้แทนที่เหมาะสมที่จะนำเสนอผลการวิเคราะห์ให้แก้ผู้บริหารของบริษัท
เน้นเฉพาะหัวข้อที่สนใจ
กำหนดระยะเวลาในการวิเคราะห์ที่เหมาะสม
เลือกเป้าหมายของการวิเคราะห์อย่างระมัดระวัง
เลือกวิธีการที่เหมาะสมในการสำรวจข้อมูลจากบุคคลแต่ละราย
ไม่ควรรวบรวมข้อมูลที่ไม่จ าเป็น
กำหนดวิธีการประมวลข้อมูลด้วย ไม่ใช่แค่รวบรวม
ข้อมูลอย่างเดียว
10.กำหนดเป้าหมายจากการสำรวจที่ชัดเจนและควร
มั่นใจว่าเป้าหมายนั้นปฏิบัติได้
งบประมาณ (Budgets)
• งบประมาณรายได้ (Revenue Budgets)
• งบประมาณรายจ่าย (Expense Budgets)
• งบประมาณกำไร (Profit Budgets)
• งบลงทุน (Capital Expenditure Budgets)
• งบประมาณคงที่หรือผันแปร (Variable or Fixed
แผนการทำงาน (SCHEDULING
• Gantt Chart
• แผนภูมิ (Load Chart)
Pert Network Analysis
Even คือ จุดสิ้นสุดที่แสดงถึงการสิ้นสุดของกิจกรรมย่อยใน Pert Network
Activities คือ เวลาหรือทรัพยากรที่ต้องการเพื่อแสดง
ความก้าวหน้าจากกิจกรรมหนึ่งไปอีกกิจกรรมหนึ่ง
Slack time คือ ช่วงเวลาในแต่ละกิจกรรมที่สามารถล่าช้า
กว่าก าหนดได้โดยไม่ท าให้โครงการต้องล่าช้า
Critical Path คือ ระยะเวลาที่ยาวนานที่สุดหรือช่วงเวลา
ทั้งหมดที่ใช้ไปไนแต่ละกิจกรรมใน PERT
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
(Breakeven Analysis)
รายรับรวมจะเท่ากันต้นทุนรวมต่อเมื่อเราขายได้
จ านวนพอเพียงในราคาที่ครอบคลุม
ความแตกต่างระหว่างราคา และต้นทุนผันแปร เมื่อ
คูณด้วยจำนวนหน่วยที่ขายไป เท่ากับต้นทุนคงท
บทที่ 3 การกำหนดนโยบาย
นโยบายและกุศโลบาย
ก. นโยบายและกุศโลบาย ยิ่งได้รับการพัฒนา ย่อมทำให้การวางแผนเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประส
ข. นโยบายและกุศโลบาย เป็นยุทธการ (Tactics) อัน
สำคัญในการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนที่ก าหนด
ค. นโยบายและกุศโลบายมีผลอันสำคัญต่อการบริหารงานทุกชนิดและทุกลักษณะงาน
ฐานะของนโยบายและกุศโลบาย
• นโยบายในฐานะที่เป็นปรัชญา
(Policy as Philosophy)
• นโยบายในฐานะเป็นอุดมการณ์
(Policy as Ludology)
• นโยบายในฐานะเป็นสิ่งน่า ประหลาดหรือน่าฉงน(Policy as “Surprise)
ความหมายของนโยบายและกุศโลบาย
• ช่วยสนับสนุนให้มีการตัดสินใจที่ถูกต้อง
• เป็นการควบคุมขั้นพื้นฐานของการปฏิบัติงาน
• ท าให้เกิดความแน่นอนและประสานงานในการปฏิบัติงาน
• ช่วยลดเวลาที่ต้องใช้ในการตัดสินใจ
ความสำคัญของนโยบายและกุศโลบาย
• ทำอะไร อย่างไร
• เข้าถึงภารกิจ
• เป้าหมาย
• สนับสนุน
• พัฒนา
• ประหยัดเวลา
• ประสานงาน
• มั่นคง
• สนับสนุน
• ตัดสินใจ
• ชัดเจน
ลักษณะที่ดีของนโยบายและกุศโลบาย
• สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
• กำหนดขึ้นจากข้อมูลที่เป็นจริง
• ก าหนดขึ้นก่อนการดำเนินงาน
• เพื่อผลประโยชน์กับบุคคลโดยรวม
• ใช้ภาษาง่าย
• มีขอบเขต ระยะเวลา
• ศูนย์รวม
• คลุมถึงอนาคต
• สอดคล้องกับปัจจัยภายนอก
ปัจจัยและองค์ประกอบของนโยบาย
• ปัจจัยภายใน ได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และ
วิธีการในการกำหนดนโยบาย
• ปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพแวดล้อมทาง
การเมือง ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และสภาพ
ดินฟ้า
ข้อควรคำนึงในการกำหนหดนโยบายและกุศโลบาย
• วัตถุประสงค์ขององค์การหรือหน่วยงาน
• ความต้องการของคนส่วนใหญ
• เหตุผลและความเป็นไปได้
• ความรู้ความสามารถของผู้ปฏิบัติ
ประเภทและแหล่งที่มาของนโยบายและกุศโลบาย
• จำแนกตามแหล่งที่มา (Sources)
• จำแนกตามลักษณะการเกิด
• จำแนกตามระดับชั้นการบริหารองค์การ
แนวคิดและกระบวนการในการกำหนดนโยบาย
• สำรวจข้อมูลขององค์กร
• กำหนดนโยบายขององค์กร
• สอดคล้องกับความเป็นจริงขององค์กรและสังคม
• ปฏิบัติได้จริง
แนวทางในการกำหนดแผนงาน
• สอดคล้องกับนโยบาย
• ศึกษานโยบายที่กำหนดขึ้นมาอย่างลึกซึ้ง
• แยกแผนงาน
• ปฏิบัติได้จริง
• ทำการประชาพิจารณา
บทที่ 7 ลักษณะ ความสำคัญ และ
ประเภทของแผนและการควบคุม
ระบบการวางแผนและควบคุม
• ความหมายของระบบ
• ระบบเปิดและระบบปิด
• ระบบย่อย
• ทฤษฎีบริหารเชิงระบบ
• แนวความคิดเกี่ยวกับระบบเปิด
• แนวความคิดเกี่ยวกับระบบย่อย
• ระบบย่อยทางสังคม
• ระบบย่อยทางจิตวิทยา
•โครงสร้างขององค์การ
• ระบบย่อยทางการบริหาร
โครงสร้างระบบการวางแผนและการควบคุมงานบริหาร
โครงสร้างของระบบการวางแผน
• โครงสร้างด้านการบริหาร
• โครงสร้างต้านทางเลือกกลยุทธ
• โครงสร้างด้านสิ่งแวดล้อม
โครงสร้างของระบบการควบคุมงานบริหาร
• ศูนย์รับผิดชอบ
• ศูนย์รายจ่าย
• ศูนย์รายได้
• ศูนย์กำไร
• ศูนย์ลงทุน
ระบบการวางแผนและควบคุมกับระดับการบริหาร
• ระดับกลยุทธ
• ระดับปฏิบัต
• การบริหารระดับกลยุทธ
• การบริหารระดับสานงาน หรือระดับกลาง
• การบริหารระดับปฏิบัต
การจัดแบ่งประเภทของการควบคุม
แบ่งตามช่วงเวลาในการด าเนินการควบคุม
• การควบคุมระหว่างการด าเนินงาน
• การควบคุมก่อนด าเนินงาน
• การควบคุมหลังการด าเนินงาน
แบ่งตามระดับชั้นขององค์การ
• การควบคุมงานบริหาร
• การควบคุมการปฏิบัติงาน
แบ่งตามปัจจัยที่ถูกควบคุม
• การควบคุมผลงาน
• การควบคุมเวลา
• การควบคุมการเงิน
• การควบคุมพัสด
แบ่งตามปัจจัยที่ถูกควบคุม
• การควบคุมผลงาน
• การควบคุมเวลา
• การควบคุมการเงิน
• การควบคุมพัสด
บทที่ 4 กลยุทธ์การบริหารงาน โดยเน้นเป้าหมาย และกระบวนการทำงานขององค์กรเป็นหลัก
วางแผนโดยเน้นเป้าหมายและกลยุทธ์ร่วมกัน
• กระทำอย่างเป็นระบบ
• แผนงาน เป้าหมาย
• พร้อมสมบูรณ์
ฝึกอบรมโดยเน้นกลยุทธ์องค์กร
• พิจารณาเลือกกำหนดว่าหน้าที่
• พิจารณาว่าความรู้ ทักษะ ทัศนคติ
• ประเมินว่าผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ
• ฝึกอบรม
• ประเมินผล
ติดตามงานโดยเน้นกระบวนการ
• ผลที่ได้เทียบกับเป้าหมายเป็นอย่างไร
• แผนงานหรือแนวทางการดำเนินงาน
องค์กรสร้างแรงจูงใจในการทำงาน
• แรงจูงใจด้วยผลตอบแทน
• การจัดสวัสดิการ
• การเลื่อนระดับหรือเลื่อนตำแหน่ง
• การขยายความรับผิดชอบ
• หมุนเวียนหรือสับเปลี่ยนหน้าที่
วัดผลงานโดยเน้นผลลัพธ์สุดท้าย
Balance Scorecard
• มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต
• มุมมองด้านกระบวนการทำงานภายในองค์กร
• มุมมองด้านลูกค้า
• มุมมองด้านการเงิน
Key Performance Indicators (KPIs)
ประเมินผลงานของตำแหน่งงาน
• เป้าหมาย (Goals)
• ตัวชี้วัดผลงานหลัก
(Key Performance Indicators)
S-M-A-R-T
• Specific
• Measurable
• Attainable
•Relevant
• Timetable
แนวทางในการกำหนดค่าตอบแทน
• กำหนดระเบียบปฏิบัติ
• ทบทวนประเมินผลการปฏิบัติงาน
(Performance Review)
• พิจารณาก าหนดค่าจ้างเงินเดือนให้กับ
พนักงานแต่ละคน
วัตถุประสงค์ (Objectives)
• อาจเป็นได้ทั้งวัตถุประสงค์การเงินและไม่ใช่
การเงิน
• เป็นเป้าหมายที่ต้องใช้ความพยายาม
• การก าหนดวัตถุประสงค์ต้องเกี่ยวข้องกับเวลา
• วัตถุประสงค์จะเป็นทางเลื่องที่มีเหตุผล
• วัตถุประสงค์จะลดข้อขัดแย้ง
• วัตถุประสงค์สามารถวัดได
บทที่ 5 ผู้บริหาร และ การตัดสินใจ
บทบาทของผู้บริหาร (Interpersonal roles)
บทบาทด้านสารสนเทศ
• ตรวจสอบ
• เผยแพร่
• ให้กับสมาชิกขององค์กร
• โฆษก
บทบาทด้านสารสนเทศ (Informational roles)
บทบาทระหว่างบุคคล
• หัวหน้า
• ผู้นำ
• ผู้ติดต่อ
บทบาทด้านการตัดสินใจ (Decisional roles)
บทบาทระหว่างบุคคล
• ผู้จัดการ
• ริเริ่มหรือแนะนำ
• ผู้จัดการสิ่งรบกวน
• เผชิญกับสิ่งรบกวน
• ผู้จัดสรรทรัพยากร
• ผู้เจรจา
ระดับการบริหาร
• การวางแผนเชิงกลยุทธ์
(Strategic Planning)
• การควบคุมการบริหาร
(Management Control)
• การควบคุมการปฏิบัติงาน
(Operational Control)
ประเภทของการตัดสินใจ
การตัดสินใจแบบโครงสร้าง
(Structure)
การตัดสินใจแบบไม่เป็นโครงสร้าง
(Unstructured)
การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง
(Semi structure)
ขบวนการในการตัดสินใจและการสร้างตัวแบบ
• การกำหนดปัญหา (Intelligent Phase)
การค้นหาปัญหา
การแบ่งประเภทของปัญหา
การแตกย่อยปัญหาให้เล็กลง
การหาเจ้าของหรือที่มาของปัญหา
• การนำไปปฏิบัติ (Implementation Phase)
• การออกแบบ (Design Phase)
• ตัวแปรผลลัพธ์ (Result Variables)
• ตัวแปรตัดสินใจ (Decision Variables)
• ตัวแปรที่ไม่สามารถควบคุมได้ (UncontrollableVariables หรือ Parameters)
• ตัวแปรผลลัพธ์ระหว่างกลาง (IntermediateResult Variables)
• การเลือก (Choice Phase)
• วิธีการเชิงวิเคราะห์
(Analytical Techniques)
• วิธีการค้นหาแบบเดา
(Blind Search Approaches)
• วิธีการค้นหาแบบฮิวริสติก
(Heuristic Search Approaches)
• การตรวจสอบ (Monitoring Phase)
การคาดเดาผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือก
• การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน
• การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง
• การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน
เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนในขบวนการตัดสินใจ
• เทคโนโลยีที่สนับสนุนในขั้นตอนการระบุปัญหา
• เทคโนโลยีที่สนับสนุนในขั้นตอนการออกแบบ
• เทคโนโลยีที่สนับสนุนในขั้นตอนการเลือก
• เทคโนโลยีที่สนับสนุนในขั้นตอนการนำไปปฏิบัติ
บทที่ 6 การควบคุม
ความหมายของการควบคุม
• การควบคุมเพื่อความมั่นคง
• การควบคุมเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมาย
หลักการที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและควบคุม
• หลักว่าด้วยความเสี่ยง
• หลักของการสิ้นเปลือง
• หลักของเวลาและโอกาส
บทบาทของแผนงานการรายงานผล
• ให้แนวทางและจุดหมายของการปฏิบัติงาน
• ประสานงานหลายๆ ชนิด
• เครื่องมือในการค้นหาโอกาสและข้อจำกัด
• ต้องทำอะไรให้เสร็จ
• รายงานผล
กลไก ประโยชน์และข้อจำกัดของการวางแผนและควบคุม
• เทคโนโลยีและสังคม
• ความเกี่ยวพันกันขององค์การ
• อัตราการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง
รวดเร็ว
ประโยชน์ของการวางแผนและควบคุม
• เป็นเครื่องชี้ให้เห็นชัดถึงความรับผิดชอบ
• เพื่อใช้วัดความสำเร็จ
• เป็นเครื่องกำหนดทิศทางขององค์กร
• ใช้สำหรับประสานกำลังความพยายาม
ภายในองค์กร
• ใช้เป็นเครื่องช่วยในการปรับตัว
• การช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการคิดของนัก
บริหาร
ข้อจำกัดของการวางแผนและควบคุม
• ไม่สามารถให้คำตอบของทุกคำถาม
กระบวนการควบคุม
• จัดตั้งมาตรฐาน
• วัดผลงาน
• เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐาน
• ดำเนินการแก้ไข
ความสัมพันธ์ของการวางแผนกับการบริหาร
• ความสัมพันธ์ของการวางแผนและควบคุม
• ความสัมพันธ์ของระบบการวางแผนที่มีต่อ
ระบบบริหาร
• ความสัมพันธ์ของการวางแผนที่มีต่อหน้าที่
การบริหารอื่นๆ
นางสาวมนฑกานต์ วงจันทา สาขาการจัดการ