Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยา
ความหมาย
การศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพฤติกรรม+กระบวนการทางจิตใจ
บทบาท
มิติด้านปัจเจกบุคคล
มิติด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
มิติด้านกระบวนการกลุ่ม
ความสำคัญ
ทำให้บุคคลรู้จัก+ยอมรับตนเองมากขึ้น
ทำให้รู้จัก+เข้าใจผู้อื่น
ช่วยให้คนแสดงพฤติกรรมตามกฎเกณฑ์สังคม
ความรู้เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์
ความสำคัญ
การดำเนินชีวิตครอบครัว
การดำเนินชีวิตของชีวิตสังคม
การดำเนินชีวิตในองค์การ
เศรษฐกิจ
การเมืองการปกครอง
การเรียนรู้
ประโยชน์
ช่วยให้เข้าใจธรรมชาติ
เข้าใจความต้องการผู้อื่น
ก่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ
เกิดความราบรื่นในการคบหาสมาคมผู้อื่น
ลดความขัดแย้ง
เกิดขวัญและกำลังใจ
จิตวิทยาเกี่ยวกับการรับรู้และการเรียนรู้
แนวคิดของจิตวิทยาการรับรู้
องค์ประกอบ
สิ่งเร้าภายนอก
สิ่่งเร้าภายใน
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 สิ่งเร้า
ขั้นที่ 2 รู้สึก
ขั้นที่ 3 คิดวิเคราะห์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้
สิ้่งเร้า
ผู้รับรู้
สภาพแวดล้อม
แนวคิดการเรียนรู้
ลักษณะการเรียนรู้
เป็นกระบวนการ
ช่วยปรับปรุงตัวเอง
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เพิ่มประสิทธิภาพ
อาศัยวุฒิภาวะเป็นองค์ประกอบ
องค์ประกอบการเรียนรู้
แรงขับ
สิ่งเร้า
การตอบสนอง
การเสริมแรง
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีเชื่อมโยง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสิก
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีการพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยบนุนเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น ของกาเย่
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญาสังคม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
ทฤษฎีเรียนรู้ของมาสโลว์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเจอร์ส
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของโคมส์
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของโนลส์
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของแฟร์
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายนอก
จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ การสื่อสาร และทัศนคติ
แรงจูงใจ
ประเภทแรงจูงใจ
แรงจูงใจภายใน
แรงจูงใจภายนอก
ความสำคัญของการจูงใจ
ศึึกษาการจูงใจ
ช่วยเพิ่มพลังในการทำงาน
เพิ่มความพยายามในการทำงาน
เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงาน
ช่วยเสริมสร้างคุณค่าความเป็นคน
ทฤษฎีการจูงใจ
ทฤษฎีที่เน้นเนื้อหาของการจูงใจ
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมาสโลว์
ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮิร์ซเบิร์ก
ทฤษฎีความต้องการของแมคเคลเลอร์
ทฤษฎี X,Y ของแมคเกรเกอร์
ทฤษฎีที่เน้นกระบวนการในการจูงใจ
ทฤษฎีความคาดหวังของวรูม
ทฤษฎีความเสมอภาค
ทฤษฎีการเสริมแรงของการจูงใจ
การสื่อสาร
แนวคิดและทฤษฎีจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารในการส่งเสริมการเกษตร
องค์ประกอบ
ผู้ส่งสาร
สาร
สื่อ
ผู้รับสาร
รูปแบบจำลอง+ทฤษฎีการสื่อสาร
ทฤษฎีการสื่อสาร SMCR ของเบอร์โล
ทฤษฎีการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของแชนนันและวีเวอร์
ทฤษฎีการสื่อสารของชแรมม์
แนวคิด+ทฤษฎีจิตวิทยาเกี่ยวกับทัศนคติในการส่งเสริมการเกษตร
องค์ประกอบของทัศนคติ
ความรู้
ความรู้สึก
พฤติกรรม
ทฤษฎีเกี่ยวกับทัศนคติ
ทฤาฎีการวางเงื่อนไขและการให้แรงเสริม
ทฤษฎีสิ่งล่อใจ
ทฤษฎีความสอดคล้องกันในการรับรู้
ทฤษฎีความสมดุล
ทฤษฎีความสอดคล้องกัน
ทฤษฎีความขัดแย้งทางความคิด
ทฤษฎีการมีส่วนร่วม
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทัศนะคติโดยการปรับตัวเข้าหาสังคม
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์
กลุ่มทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฎีพุทธินิยม
ทฤษฎีมนุษยนิยม
ทฤษฎีความคาดหวัง
ทฤษฎีความเป็นธรรม
ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์
ทางกายภาพ
ความมั่นคงปลอดภัย
ทางสังคม
การยกย่องจากสังคม
ความสำเร็จในชีวิต
ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮิร์ซเบริก
ปัจจัยอนามัย
ปัจจัยจูงใจ
การประยุกต์แนวคิดทางจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
การประยุกต์หลักจิตวิทยาในการส่งเสริมการเกษตร
การประยุกต์จิตวิทยากับงานส่งเสริมการเกษตร
ส่งเสริมการรวมกลุ่มโดยคำนึงถึงกฎการรับรู้ของเกสตัน
สร้างความประทับใจตั้งแต่ครั้งแรก
ผลิตสื่อให้น่าสนใจเป็นสิ่งเร้า
ส่งเสริมโดยคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมาย
สนับสนุนการตัดสินใจ
เป้าหมายในการใช้จิตวิทยาในการส่งเสริมการเกษตร
เพื่อสร้างบรรยากาศนวส+เกษตรกร
เป็นกำลังใจให้เกษตรกร
แสดงความพึงพอใจในตัวเกษตรกร
ให้การชมเชยแก่เกษตรกร
หลักการใช้จิตวิทยาในการส่งเสริมการเกษตร
เข้าใจการเปลี่ยนแปลงอัตมโนทัศน์
ให้ความสำคัญกับประสบการณ์ของเกษตรกร
คำนึงถึงความพร้อมในการเรียนรู้
ตระหนักถึงความมุ่งหมายของการเรียนรู้
เข้าใจหลักการทำงานกับเกษตรกรรายบุคคล
เข้าใจหลักการทำงานเป็นกลุ่ม
เข้าใจการทำงานแบบมวลชน
การประยุกต์จิตวิทยาเกี่ยวกับการรับรู้ และการเรียนรู้
หลักการ
ส่งเสริมการรวมกลุ่มโดยคำนึงถึงกฎการรับรู้ของเกสตัน
สร้างความประทับใจตั้งแต่ครั้งแรก
ผลิตสื่อให้น่าสนใจเป็นสิ่งเร้า
ส่งเสริมโดยคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมาย
สนับสนุนการตัดสินใจ
ข้อคำนึงถึงจิตวิทยาการการเรียนรู้
ความพร้อมของผู้เรียน
ความแตกต่างของผู้เรียน
การมีส่วนร่วม
วัตถุประสงค์ชัดเจน
เนื้อหา+กิจกรรมสอดคล้องกับผู้เรียน
การกระทำผ่านประสาทสัมผัสหลายทาง
การถ่ายโอนการเรียนรู้
การประยุกต์จิตวิทยาเกี่ยวกับแรงจูงใจ การสื่อสาร และทัศนคติ
แรงจูงใจ
ข้อคำนึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
แนวโน้มพฤติกรรมเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
วิธีการสร้างแรงจูงใจ
ส่งเสริมสอดคล้องกับความต้องการ
แรงจูงใจสอดคล้องกับสิ่งจูงใจ
แรงจูงใจสอดคล้องกับความคาดหวัง
แรงจูงใจสอดคล้องกับการเรียนรู้
การสื่อสาร
ขั้นความรู้
ขั้นชักชวน
ขั้นการตัดสินใจ
ขั้นนำไปใช้
ขั้นยืนยันการตัดสินใจ
ทัศนคติ
การเปลี่ยนทัศนคติต่อตนเอง
ทัศนคติของนวส.
ทัศนคติของเกษตรกร
การสร้างและเปลี่ยนทัศคติที่ดีในการส่งเสริมการเกษตร
การสร้างทัศคติของนักส่งเสริมการเกษตร
การสร้างทัศนคติที่ดีของเกษตรกร
การสร้างทัศคติที่ดีของเกษตรกรในการยอมรับนวัตกรรม
การสร้างแรงจูงใจ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีความคาดหวัง
ทฤษฎีความเป็นธรรม
การตอบสนองความต้องการของเกษตรกร
ทฤษฎีความต้องการความสัมฤทธิผลของแมคเคลแลนด์
ทฤษฎีความต้องกาตของมาสโลว์
การสร้างมนุษยสัมพันธ์
แนวคิด
ความสำคัญ
ช่วยให้นักส่งเสริมสามารถเข้าใจตนเองและผู้อื่น
ทำให้ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ
ทำให้เกิดการพัฒนางานส่งเสริม
ประโยชน์
เข้ากับคนอื่นง่าย
เป็นปัจจัยให้ทำงานสำเร็จ
เชื่อมดยงบุคคลให้ทำงานบรรลุผลสำเร็จ
ทำให้สังคมมีคุณภาพ
ขอบเขตการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภายในองค์กร
ภายนอกองค์กร
การสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภายในองค์กร
กับเพื่อนร่วมงาน
ทำตนเป็นที่ยอมรับ
สังเกต+ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
มีความรับผิดชอบ
อดทน
ช่วยเหลือผู้อื่น
สร้างความก้าวหน้าในการทำงาน
ผูกมิตรกับชาวต่างชาติ
กับผู้บังคับบัญชา
สามารถจัดการงานได้
เข้าใจนาย
ช่วยเหลือให้งานสำเร็จ
สร้างลักษณะนิสัยที่ดี
ยกย่องตามฐานะ
สรรเสริญ
ไม่รบกวนเรื่องเล็กๆน้อยๆ
ลูกน้อง
บริหารจัดการงานได้
ทำตนเป็นคนน่าคบ
ทำตนให้เป็นที่ยอมรับ
เปิดโอกาสให้มีการติดต่อสัมพันธ์
ช่วยเหลือลูกน้อง
ภายนอกองค์กร
สร้างความสัมพันธ์กับหน่วยงานอื่น
การติดต่อสัมพันธ์
วิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก
สร้างมนุษยสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ
สร้างมนุษยสัมพันธ์แบบเป้นทางการ
รักษาความสัมพันธ์ให้ยั่งยืน
เกษตรกร
แบบไม่เป็นทางการ
การติดต่อสัมพันธ์กับกลุ่มเกษตรกร
ติดต่อสัมพันธ์กับมวลชน
แนวทางและข้อควรพิจารณา
แนวทางการสร้างมนุษยสัมพันธ์
สนใจในตัวบุคคลอื่น
ยิ้มแย้มแจ่มใส
จำชื่อคน
เป้นผู้ฟังที่ดี
พูดในเรื่องที่คนฟังสนใจ
ยกย่องสรรเสริญ
ถ่อมตน
เข้าใจความรู้สึกผู้อื่น
มีใจยุติธรรม
ข้อพึงระวัง
สีหน้าวาจาท่าทางไม่ดี
เถียงเพื่อเอาชนะ
วาจา เพ้อเจ้อ
ไม่สนใจผู้ฟัง
ใจแคย
โมโหง่าย
ไม่จริงใจ
โจมตีผู้อื่น