Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia with Sepsis with Septic shock with acute kidney injury U/D DM HT…
Pneumonia with Sepsis with Septic shock with acute kidney injury U/D DM HT DLP
ปอดอักเสบ (Pneumonia)
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย ซึ่งมักพบในผู้ที่หมดสติ หรือชัก
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด หรือมีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจเจาะคอหรือใส่สายให้อาหาร
ผู้ที่กินยาสเตียรอยด์เป็นประจำ
ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หรือหอบหืด
มีการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง เช่น ผู้ป่วยติดเตียงที่นอนนาน ไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย
กรณีศึกษา
มีโรคประจำตัว คือ เบาหวาน เป็นมา 6 ปี
ผู้สูงอายุ อายุ 82 ปี
ผู้ป่วยรับประทานยาชุด เมื่อมีอาการปวดเมื่อย
ความหมาย
การที่ปอดได้รับอันตรายจากการติดเชื้อหรือจากสาเหตุอื่น ส่งผลให้เนื้อปอดซึ่งประกอบด้วยพลาสมาและเม็ดเลือดขาวที่เรียกว่า exudates (หนอง)เข้าไปอยู่ในถุงลม เนื้อปอดจึงแข็ง
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง หนาวสั่น หายใจหอบเนื่อย
ในระยะแรกจะมีอาการไอแห้งๆไม่มีเสมหะ ต่อมาจะไอมีเสมหะขุ่นข้นออกเป็นสีเหลือง สีเขียว สีสนิมเหล็กหรือมีเลือดปน
เจ็บแปลบที่หน้าอกเวลาหายใจเข้าหรือเวลาไอแรงๆ บางครั้งปวดร้าวที่หัวไหล่ สีข้างหรือท้อง
ในเด็กเล็กอาจมีอาการปวดท้อง ท้องอืดท้องเดิน อาเจียน กระสับกระส่ายหรือชัก
ผิวหนังเขียวคล้ำ ปลายมือปลายเท้าเขียว
กรณีศึกษา
หายใจหอบเหนื่อย
ไอ มีเสมหะ
สาเหตุ
เชื้อไมโคพลาสมา ทำให้เกิดปอดอักเสบชนิดที่เรียกว่า Atypical Pneumonia
เชื้อรา พบได้ค่อนข้างน้อย
เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
เชื้อโปรโตซัว Pneumocystis carinii
สารเคมี เช่น สำลักน้ำมันก๊าด ควันพิษ สำลักอาหาร เข้าไปในปอด
ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
กรณีศึกษา
ติดเชื้อแบคทีเรีย Normal flora เป็นเชื้อประจำถิ่น
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนลดลงน้อยกว่า 95%
มีอาการพร่องออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็ว หอบเหนื่อย เหงื่อออกมาก เขียวคล้ำ
เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ
ใช้กล้ามเนื้อคอและหน้าท้องช่วยหายใจ
ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation
กรณีศึกษา
ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation
มีอาการพร่องออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
Sputum gram stain
sputum culture
Hemoculture
ปัสสาวะ
กรณีศึกษา
H/C พบ Normal Flora
Gram stain Gram negative bacilli,Gram positive bacilli
WBC 12,130 cell/m.m
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
Both lower lungs infiltration.
การรักษา
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Cephalosporins,Ampicilin ยาแก้ไอ
ยาขับเสมหะ ยาขยายหลอดลม
ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ
กรณีศึกษา
ได้รับ 0.9% NSS 1000 ml iv drip
On ETT with ventilator
ทำกายภาพบำบัดทรวงอก เคาะปอด
ได้รับยา Ceftriazone 2 gm, Tazocin 4.5 gm Azithromycin 250 ml 2 tap po ac ,Meropenem 1 gm iv+NSS 100 ml
ได้รับยา Berodual 4 puff
ทำกายภาพบำบัดทรวงอก
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดบวมน้ำ หรือมีเลือดคั่งในปอด
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ทั้งชนิดมีน้ำและไม่มีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตแล้วกระจายไปสู่อวัยวะอื่นๆ ได้แก่ ไต เยื่อบุช่องท้อง เยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มสมอง ข้ออักเสบ
หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
ช็อคจากการติดเชื้อ
ระบบไหลเวียนล้มเหลวร่วมกับหัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
เกิดการจับกลุ่มของโลหิตอุดตันในหลอดโลหิต
กรณีศึกษา
ติดเชื้อในกระแสเลือด ( Sepsis )
ติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis)
อาการ
ไข้สูง >38 องศาเซลเซียส<36 องศาเซลเซียส
อัตราการหายใจ > 20 ครั้ง/นาที
หรือ PaCO2 < 32 mmHg
ชีพจรเต้นเร็ว > 90 ครั้ง/นาที
ตรวจพบ WBC > 12,000 cell/cu.m.m< 4,000 cell/cu.m.m
กรณีศึกษา
อัตราการหายใจ 28 ครั้ง/นาที
PaCO2 44.2 mmHg
ชีพจร 108 ครั้ง/นาที
WBC = 12,130 cell/cu.m.m
สาเหตุ
ติดเชื้อในช่องท้อง
ปอดอักเสบ
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ผิวหนังเป็นแผล
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ไข้หวัดใหญ่
ไข้มาลาเรีย
ไข้เลือดออก
กรณีศึกษา
ปอดอักเสบ
พยาธิสภาพ
ภาวะที่ร่างกายมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อการติดเชื้อหรือต่อพิษของแบคทีเรียที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย จากนั้นแบคทีเรียซึมเข้าสู่กระแสเลือด เกิดการอักเสบทั่วร่างกาย ซึ่งทำให้ลิ่มเลือดอุดตัน การลำเลียงออกซิเจนไปยังอวัยวะที่สำคัญไม่เพียงพอ การทำงานของอวัยวะจึงล้มเหลว
การรักษา
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ
กรณีศึกษา
ได้รับยา Tazocin 4.5 gm Azithromycin 250 ml 2 tap po ac ,Meropenem 1 gm iv+NSS 100 ml
ได้รับ 0.9% NSS 1000 ml iv drip
On ETT with ventilator
Septic shock
อาการ
อัตราการหายใจ > 20 ครั้ง/นาที
หรือ PaCO2 < 32 mmHg
ตรวจพบ WBC > 12,000 cell/cu.m.m< 4,000 cell/cu.m.m
ชีพจรเต้นเร็ว > 90 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต < 90/60 mmhg
ไข้สูง >38 องศาเซลเซียส<36 องศาเซลเซียส
กรณีศึกษา
WBC = 12,130 cell/cu.m.m
BP 98/52 mmHg มี drop เป็นบางช่วง
อัตราการหายใจ 28 ครั้ง/นาที
PaCO2 44.2 mmHg
ชีพจร 108 ครั้ง/นาที
พยาธิสภาพ
เชื้อแบคทีเรียเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งเชื้อจะสร้างสารที่เป็นพิษต่อเซลล์ (Endotoxin) ให้เกิดภาวะ Endotoxiemia และสารเหล่านี้จะไปกระตุ้นให้มีการทำลายเซลล์โดยตรงและกระตุ้นให้ Macrophages หลั่งสาร Cytokines ออกมา ทำให้เลือดแข็งตัวผิดปกติ เกิดหลอดเลือดขยายตัวทั่วร่างกาย (Vasodilation) และเพิ่ม Premeability ของเหลอดเลือดฝอย ทำให้สารน้ำรั่วออกนอกหลอดเลือดมากจนทำให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆไม่เพียงพอ
การรักษา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เพื่อรักษาระดับความดันโลหิตให้คงที่
ให้ยาเพิ่มความดันโลหิต ช่วยให้หลอดเลือดหดตัวลงช่วยเพิ่มความดันโลหิต
กรณีศึกษา
ได้รับยา Norepinephrine (4:250)
On ETT with ventilator
ได้รับ 0.9% NSS 1,000 ml iv drip
ให้ออกซิเจน
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วไปในหลอดเลือด
(Disseminated Intravascular Coagulation: DIC)
ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury:AKI)
อวัยวะล้มเหลวหลายระบบ (Multiple Organ Failure or Dysfunctiona)
กรณีศึกษา
ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury:AKI)
ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury:AKl)
สาเหตุ
สาเหตุที่ไต (Intrarenal AKI)
เกิดจากการบาดเจ็บโดยตรงที่ไตจากการอักเสบ การได้ยาที่มีพิษต่อไต รับสารทึบรังสีทางหลอดเลือด
สาเหตุหลังไต (Post-renal AKI)
เกิดจากการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ เช่น การบาดเจ็บ เนื้องอก นิ่ว หรือ ต่อมลูกหมากโต
สาเหตุก่อนไต (Prerenal AKI)
เกิดจากเลือดมาเลี้ยงไตไม่พียงพอ เกิดจากภาวะช็อก ขาดน้ำ ภาวะเลือดออก ภาวะหัวใจวาย
กรณีศึกษา
สาเหตุก่อนไต (Prerenal AKI) เกิดจากภาวะช็อค
พยาธิสภาพ
การไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงที่ไตลดลงอย่างเฉียบพลัน ส่งผลให้อัตราการกรองของไตลดลง ทำให้ในร่างกายมีระดับ Serum BUN และ Creatinine สูงขึ้น ไตจึงเก็บกัก Na และน้ำไว้มากขึ้น ปัสสาวะจึงออกลดลง
อาการ
บวมที่แขนขา หรือเท้า
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง อ่อนเพลีย ง่วงนอน อาจมีอาการเจ็บชายโครงในผู้ป่วยบางราย
ปัสสาวะออกน้อยกว่า 400 cc/day อาจมีสีเข้มหรือปัสสาวะไม่ออกเลย
กรณีศึกษา
ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม มีตะกอน
บวมที่แขนและเท้า
อ่อนเพลียย ง่วงนอน
ของเสียคั่ง ตรวจผลเลือดพบ BUN,Creatinine สูงขึ้น
การรักษา
ให้สารอาหาร พลังงานและปริมาณโปรตีนให้เหมาะสม
การบำบัดทดแทนไต
รักษาแบบประคับประคองและรักษาโรคแทรกซ้อน ได้แก่ การควบคุมสมดุลปริมาณน้ำเข้าออกของร่างกาย หลีกเลี่ยงยาที่มีพิษต่อไต รวมทั้งปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับการทำงานของไตที่ลดลง แก้ไขสมดุลกรดด่าง ภาวะเกลือแร่ที่ผิดปกติในร่างกาย
ให้ยาปฏิชีวนะ
จัดการที่สาเหตุ หาสาเหตุและทำการรักษาที่ต้นเหตุ เช่น การหยุดยาที่เป็นสาเหตุ แก้ไขภาวะช็อกและให้สารน้ำในร่างกายที่มีการขาดสารน้ำ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การดื่มน้ำ การควบคุมเกลือ ไม่กลั้นปัสสาวะ การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ในกรณีที่เป็นมากจนไตเสียหายไม่สามรถทำงานได้อาจต้องผ่าตัด
กรณีศึกษา
ได้รับการแก้ไขภาวะช็อก, ให้สารน้ำในร่างกาย,ควบคุมสมดุลปริมาณสารน้ำเข้าออก, แก้ไขภาวะเกลือแร่ที่ผิดปกติ
ได้รับ BD (1.2:1) 300 ml x 4 feed เพิ่มไข่ขาวใน BD 2 ฟอง
ได้รับยาปฏิชีวนะ
การวินิจฉัย
การทำ CT Scan และ Ultrasound
การค่าประเมินการทำงานของไต (eGFR)
การตรวจเลือด เพื่อดูประสิทธิภาพการกรองของไตถ้าหากมีภาวะไตวาย ปริมาณไนโตรเจนกรดยูเรีย (BUN) และ Creatinine จะมีค่าสูง
ตรวจปัสสาวะที่ร่างกายขับออกมาและเพื่อหาโปรตีน WBC RBC ที่ปนออกมากับปัสสาวะ เพื่อดูการทำงานของไต
กรณีศึกษา
ตรวจปัสสาวะ
1 more item...
ตรวจเลือด
1 more item...
การค่าประเมินการทำงานของไต (eGFR
1 more item...
ภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน( Acute Respiratory Disstress Syndrome:ARDS)
การวินิจฉัย
Arterial Blood Gas:ABG
Complete Blood Count: CBC
กรณีศึกษา
CBC: WBC = 12,130 cell/cu.m.m,Neutrophil =89.7%,Lymphocyte=5.7%
ABG: pH= 7.28 ,PaCO2= 44.2 ,PaO2= 76.2 ,HCO3=27.3 มีภาวะ Metabolic acidosis with mild hypoxia
Blood Lactate
การวินิจฉัย
กรณีศึกษา
ตรวจอาการทั่วไปของ,ตรวจเลือด,ตรวจปัสสาวะ,ตรวจเสมหะ
ตรวจเลือด
ตรวจปัสสาวะ
ตรวจสารคัดหลั่งจากบาดแแผล
ตรวจเสมหะ
ตรวจอาการทั่วไป
ตรวจด้วยภาพสแกนขออวัยวะที่ติดเชื้อ
ข้อมูลทั่วไป
อาการสำคัญ
รับ refer จากโรงพยาบาลบ้านแพรกด้วยอาการ ซึมลง หายใจหอบเหนื่อย 6 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
6 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายอุจจาะเหลวเป็นน้ำ 4 ครั้ง อาเจียนเป็นเศษอาหาร 1ครั้ง
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีการสับสน ซึมลง หายใจหอบเหนื่อยมากขึ้น ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาลบ้านแพรก v/s แรกรับ T = 36 องศาเซลเซียส PR=77/min RR=30/min BP=62/35 mmHg O2 saturation =83% GCS=12คะแนน E4V3M5 แพทย์ให้การรักษาโดย On ETT No.7.5 Mark 22 หลัง On ETT O2 saturation =99% load 09% NSS 1,500 ml iv then 120 ml/hr หลัง load BP= 150/90 mmHg On EKG monitor 12 lead พบ normal sinus rhythm rate 95 bpm เจาะ DTXได้ 109 % Retained Foley catheter คาสาย ปริมาณ 50 ml ให้ยา Ceftriazone 2 Gmail IV stat และ Hydrocortisone 100 mg IV stat อาการขึ้น จึง refer มารักษาต่อที่โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช
ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ อายุ 82 ปี เตียง 16 เชื้อไทย สัญชาติไทยสถานภาพ สมรส ตำบลดอนโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี วันที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล 12 ตุลาคม 2563 วันที่รับไว้ในความดูแล 20 ตุลาคม 2563