Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน (Upper Gastrointestinal Bleeding) - Coggle…
เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน
(Upper Gastrointestinal Bleeding)
พยาธิสภาพ
เกิดจากทางเดินอาหารอักเสบหรือเป็นแผล
ตามปกติทางเดินอาหารจะมี mucosal barrier เพื่อป้องกันการย่อยตัวเอง เมื่อมีการหลังกรด
แต่ถ้ากลไกการป้องกันล้มเหลวหรือขาดความสมดุล จะทำให้ทางเดินอาหารอักเสบ
มีการทำลายชั้น mucosa
ทำให้เกิดอันตรายต่อเส้นเลือดเล็กๆ
บวม เลือดออก รอยถลอก
เลือดที่ออกจะทำปฏิกิริยากับน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร จึงทำให้เลือดเป็นสีดำ
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
คลื่นไส้
ปวดท้องในระยะแรก
อยากถ่ายอุจจาระ
อาเจียนเป็นเลือดสดหรือเลือดเก่า
ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ
กระหายน้ำ
ปวดศีรษะ
เหงื่อออก
ใจสั่น
กระวนกระวาย
ความดันโลหิตต่ำ
ชีพจรเบา
อาการอื่นๆ
มีไข้ อาจเกิดใน 24 hr.
ผู้สูงอายุอาจเกิด myocardial infraction
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
อาการแสดงของภาวะ hypovolemia
ความดันโลหิตต่ำ
ชีพจรเต้นเร็ว
orthostatic hypotension
อาการแสดงของ chronic liver disease
spider nevi
angiomata
palmar erythema
การตรวจหน้าท้อง
surgical scar
point of tenderness
หาก้อนในท้อง
การใส่สายสวนล้างกระเพาะอาหาร
เพื่อดูลักษณะของ gastric content
สามารถบอกความรุนแรงภาวะเลือดออกได้
เพื่อทำให้กระเพาะอาหารว่าง
เตรียมพร้อมสำหรับการส่องกล้องทางเดินอาหาร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินการสูญเสียเลือด
HCT
Hb
BUN
Cr
ดูความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
PT
PTT
INR
ดูความผิดปกติของตับ เพื่อบอกภาวะตับแข็ง
LFT
หา RBC ในอุจจาระ
stool occult blood
ตรวจหาตำแหน่งจุดเลือดออก
การส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน
ทำ barium enema
ซักประวัติโรคหรืออาการต่างๆ
ประวัติการใช้ยาแก้ปวด NSAIDs รวมทั้ง aspirin
การพยาบาล
ด้านร่างกาย
ประเมินภาวะสูญเสียเลือดและน้ำของร่างกาย
สังเกตอาการ อาการแสดง ตรวจสอบดูภาวะช็อก
โดยวัด V/S ทุก 15 นาทีในระยะแรก
และทุก 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
เหงื่อออก ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำกว่าปกติ
ปริมาณเลือดที่อาเจียน สวนล้างกระเพาะอาหารและอุจจาระ
ให้ลงบันทึก หากพบจำนวนมากกว่า 200 ml. ในเวลา 1 hr.
ให้รายงานแพทย์
ให้ยายับยั้งการหลั่งกรดกลุ่ม PPI
ยาลดอาการเลือดออกในหลอดอาหารกลุ่ม splanchnic vasoconstictors
ตามแผนการรักษาของแพทย์
เฝ้าระวังอาการแทรกซ้อน อาการแพ้ยา
หากพบต้องรายงานแพทย์ทันที
ให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
อาจเป็น PRC หรือ FFB
ตามแผนการรักษาของแพทย์
ระวังอาการแพ้เลือด
แน่นหน้าอก ปวดหลัง มีไข้
วัดและบันทึก V/S ทุก 1 - 4 hr.
เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องหลังให้เลือด
เป็นเวลา 48 hr.
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
กรณีที่ให้โดยเร็วต้องระมัดระวังอาการน้ำท่วมปอด
หายใจลำบาก แน่นหน้าอก นอนราบไม่ได้
เสมหะมีเลือดปนออกอากาศ
เตรียมผู้ป่วยในการไปส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน
ให้ผู้ป่วยงดน้ำงดอาหารก่อนเวลาตรวจ
อย่างน้อย 6-8 hr.
เตรียมกระเพาะอาหารให้ว่าง
ตรวจสอบผลเลือด
platelet ไม่น้อยกว่า 100,000 cell/mm3
INR น้อยกว่า 1.4
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบความสำคัญและภาวะแทรกซ้อนของการส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน
เป็นการส่องกล้องเพื่อดูหลอดอาหาร กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น เมื่อพบเลือดออกหรือแผล แพทย์จะทำการรักษา
การฉีดยาห้ามเลือด
การรัดเส้นเลือดโป่งพองในหลอดอาหาร
ก่อนส่องกล้องจะมีการพ่นยาชาที่คอก่อน ผู้ป่วยจะไม่รู้สึกเจ็บ แต่จะรู้สึกคลื่นไส้และมีอาการแน่นท้องในขณะทำและหลังทำได้
อาการแน่นท้องจะทุเลาและหายไปเอง
การตรวจอาจมีภาวะแทรกซ้อน
มีเลือดออกและมีการฉีกขาดของเยื่อบุทางเดินอาหาร
ให้การพยาบาลหลังส่องกล้องทางเดินอาหาร
ระวังอาการแทรกซ้อนหลังการส่องกล้อง
หากพบอาการผิดปกติภายหลังการตรวจ
ให้รายงานแพทย์ทันที
ถ่ายเป็นเลือด
ปวดท้องมาก
กรณีที่มีเลือดออกมาจากแผลในกระเพาะอาหาร
เตรียมผู้ป่วยและเครื่องมือในการทำ gastric lavage เพื่อให้เลือดหยุด
ใช้ normal saline for irrigate 1000 ml.
อุณหภูมิปกติหรือน้ำเย็น
ขณะทำจะต้องสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยและดูแลให้ความอบอุ่นตลอดเวลา
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ให้ความรู้ผู้ป่วยและญาติเรื่องการรับประทานอาหาร
ต้องรับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย รสไม่จัด
2 week หลังออกจากโรงพยาบาล
รับประทานอาหารให้ตรงเวลา
งดสูบบุหรี่และงดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
รวมถึง ชา กาแฟ น้ำอัดลม
เพราะอาจกระตุ้นให้มีการหลั่งกรดมากขึ้น
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
พักผ่อนให้เพียงพอ ซึ่งจะช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น
ด้านจิตใจ
สร้างความไว้วางใจ
แสดงท่าทีเป็นมิตร
ยิ้มแย้มแจ่มใส
เต็มใจให้ความช่วยเหลือ
และอธิบายให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
และรับฟังผู้ป่วยอย่างเข้าใจ
สร้างเสริมกำลังใจ
ให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
การรักษา
ให้เลือดและสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การผ่าตัดในกรณีฉุกเฉิน เลือดไหลไม่หยุด
ให้ยาลดการหลั่งกรด
การพักผ่อนทั้งร่างกายและจิตใจ
หลีกเลี่ยงอาการรสจัด น้ำอัดลม ชา กาแฟ
สาเหตุ
สาเหตุอื่นๆ
การรับประทานยาแก้ปวดในกลุ่ม NSAID
ความเครียด
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
carcinoma
โรคในทางเดินอาหารส่วนบน
peptic ulcer
56%
esophageal varices 25%
erosive gastitis/duodenitis 12%
esophagitis 5%
mallory-weiss tear 5%
แผลในหลอดอาหาร