Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 15 การจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา - Coggle Diagram
บทที่ 15 การจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาคืออะไร
สิ่งที่เป็นปัญหา
พฤติกรรมที่แสดงความไม่สนใจระยะสั้นๆ
การคุยกันระหว่างเปลี่ยนกิจกรรม
การคุยกันระหว่างทำความสะอาด
ปัญหาที่ไม่รุนแรง
พฤติกรรมที่ขัดต่อกระบวนการและกฎ
ไม่รบกวนกิจกรรมการเรียนการสอน
เช่น ผู้เรียนพูดโดยไม่ยกมือ ขออนุญาตลุกจากที่นั่งโดยไม่ขออนุญาต
ปัญหาที่ไม่รุนแรง แต่มีข้อจำกัดเรื่องขอบเขตและผลกระทบ
พฤติกรรมที่มีผลต่อการเรียนการสอน
เกิดกับผู้เรียนเพียงคนเดียวหรือ 2-3 คน
เช่น ไม่ทำงานประจำ การทำงานไม่เสร็จ ไม่ปฏิบัติตามกฎบ่อยๆ
เป้าหมายในการจัดการพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
เป้าหมายของผลระยะสั้น
ต้องหยุดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ผู้เรียนต้องปรับพฤติกรรมให้ถูกต้องเหมาะสม
เป้าหมายของผลระยะยาว
ป้องกันพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมไม่ให้เกิดขึ้นอีก
กลยุทธ์ในการจัดการ
ครูต้องไม่วู่วาม
ไม่ให้กระทบต่อการเรียนการสอน
เริ่มจากวิธีการที่เบาๆ ค่อยหนักไปเรื่อยๆ
หลักการทั่วไป คือ มาตรการป้องกันดีกว่าแก้
1.มาตรการสำหรับปัญหาไม่ร้ายแรง เป็นมาตรการเบื้องต้น ใช้วิธีการที่ไม่ต้องใช้คำพูด
ให้กิจกรรมเลื่อนไหลต่อเนื่อง
การเข้าไปใกล้
การใช้กระบวนการกลุ่ม
เตือนหรือแจ้งให้ผู้เรียนปฏิบัติให้ถูกต้องเหมือนเดิม
ดำเนินการสอนใหม่
บอกให้ผู้เรียนหยุดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียน
การใช้การสื่อสาร ครู-รู้สึก
เมื่อครู (ผู้สอนบอกปัญหา)
แล้ว (ผู้สอนบอกผลกระทบ)
ทำให้ครูรู้สึก (ผู้สอนบอกความรู้สึกทางอารมณ์ของผู้สอน
2.มาตรการแก้ปัญหาที่มีความรุนแรงปานกลาง
งดสิทธิพิเศษหรือกิจกรรมพิเศษ
การแยก
การทำโทษ
การกักตัวผู้เรียน
การใช้อำนาจของโรงเรียน
3.มาตรการในการแก้ปัญหาที่รุนแรงขึ้น
ทำข้อผูกสัญญา
พบผู้ปกครอง
ใช้ระบบเพิ่มโทษ
ใช้วิธีการแก้ปัญหา
ใช้สัญญาณโดยไม่ต้องพูด
ถ้าผู้เรียนยังไม่หยุดพฤติกรรมดังกล่าว แจ้งให้ผู้เรียนปฏิบัติตามกฎ
ถ้าผู้เรียนไม่หยุดพฤติกรรม ให้ข้อเสนอเพื่อให้ผู้เรียนเลือกว่าจะหยุดหรือจะทำข้อตกลงอย่างอื่น
ถ้าผู้เรียนไม่หยุดพฤติกรรมให้เด็กแยกออกไปอยู่ในที่กำหนด
ถ้าผู้เรียนปฏิเสธตามขั้นที่ 4 ส่งผู้เรียนไปหาครูใหญ่เพื่อเขียนข้อตกลงใหม่
การใช้รูปแบบการบำบัดเสมือนจริง
สร้างความสัมพันธ์ให้ความสนใจเอาใจใส่ผู้เรียน
เน้นที่พฤติกรรมเมื่อปัญหาเกิดขึ้น
ผู้เรียนต้องรับผิดชอบในพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนควรประเมินพฤติกรรม
ครูและผู้เรียนสร้างข้อตกลงร่วมกัน
ผู้เรียนต้องมีข้อผูกพันที่จะปฏิบัติตามแผน
มีการติดตามผล
ปัญหาพิเศษ
การพูดมาก
โดยทั่วไปจะไม่เป็นพฤติกรรมที่เป็นปัญหา ตั้งกฎเกณฑ์เพื่อปฏิบัติสำหรับการพูด
การแสดงอาการหยาบคายต่อผู้สอน
ทะลึ่ง อวดดี โต้เถียง พูดหยาบ บอกให้ผู้เรียนทราบว่าพฤติกรรมที่แสดงไม่เป็นที่ยอมรับ
การหลีกเลี่ยงงานเป็นประจำ
ครูต้องตรวจงานผู้เรียนบ่อยๆ
ครูต้องช่วยให้เขาเข้าใจในการทำแบบฝึกหัด
การทะเลาะวิวาท
พฤติกรรมก้าวร้าวอื่นๆ
การท้าทายหรือแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวต่อครู
ข้อเตือนใจประเด็นสุดท้าย คิดและปฏิบัติอย่างสร้างสรรค์
การลงโทษตามควรแก่พฤติกรรม
การสอนให้ผู้เรียนทราบถึงพฤติกรรมที่เหมาะสม