Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษาปฐมวัยในประเทศมาเลเซีย, malay, pngtree-malaysia-image_2254907, f,…
การศึกษาปฐมวัยในประเทศมาเลเซีย
ประวัติการศึกษา
ยุคแรก
อัตราค่าเล่าเรียนสูงมากเด็กยากจนจึงไม่มีโอกาสเรียนอนุบาล
ค.ศ 1969
กระทรวงแรงงานจัดตั้งศูนย์ดูแลเด็กบริเวณแหล่งสวนยางในชนบท
ออกกฎหมายให้นายจ้างสร้างศูนย์ดูแลเด็กสำหรับคนงานที่มีลูกเกิน10คนโดยจ้างผู้สูงอายุเลี้ยงเด็กตั้งแต่ 5.30-14.00น และกำหนดอัตราส่วนผู้ใหญ่1คนต่อเด็ก 15คน
กระทรวงพัฒนาแห่งชาติและชนบทจัดตั้งสวนแนะนำเด็กขึ้นเรียกว่า "Tawan Bimbigan Kanak" (TBK)
มีการฝึกผู้ดูแลสวนโดยเลือกผู้หญิงที่จบชั้น ป.7หรือม.2
จัดการศึกษาตามแนวคิดเฟรอเบล มอนเตสเซอรี่ และพัฒนาการของเด็กเป็นหลัก
รับเด็กอายุ 2-6 ปี
คณะอาสาสมัครสังคมสงเคราะห์จัดศูนย์การศึกษาสำหรรบเด็กปฐมวัย มีแนวคิดจาก Head Start Program สหรัฐอเมริกาเป็นหลัก
ค.ศ 1970
กรมพัฒนาที่ดินจัดตั้งโรงเรียนอนุบาล
สนองความต้องการของแม่ที่ออกไปทำงานนอกบ้าน
รับเด็กแห่งละไม่เกิน 30 คน
ค.ศ 1972
ได้รับการอุดหนุนทางการเงินจากกระทรวงศึกษาธิการและมูลนิธิ Van Leer ประเทศเนเธอร์แลนด์
ปลายปี ค.ศ 1972 มีโรงเรียนอนุบาลขึ้นจำนวน 74 แห่งทั่วประเทศ
หลักการและรูปแบบการจัดการศึกษา
โรงเรียนอนุบาลของรัฐและเอกชน
ศูยน์รับเลี้ยงเด็ก
ผสมผสานระหว่างโรงเรียนอนุบาลกับศูนย์รับเลี้ยงเด็ก รับเด็ก 2-6 ปี
เลี้ยงดูเด็กเล็ก
2-4 ปี
ให้การศึกษาเด็ก 4-6 ปี
รัฐบาลออกกฎหมายให้การศึกษาปฐมวัยเป็นส่วนหนึ่งนระบบการศึกษาสายสามัญ
จัดขึ้นในเมืองเป็นหลัก
ในท้องถิ่นกำหนด 5-6 ปีตามแผนพัฒนาฉบับที่7
หลักสูตร
ส่งเสริมให้เด็กพัฒนาในทุกๆด้าน
เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์
พัฒนาสติปัญญาโดยการตั้งคำถาม
ฝึกให้เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่และเล็ก
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
หน่วยงานของรัฐที่จัดการศึกษา
คณะอาสาสมัครสังคมสงเคราะห์แห่งมาเลเซีย
กรมพัฒนาที่ดินแห่งรัฐ
กระทรวงการพัฒนาแห่งชาติ
ชนบทกระทรวงแรงงาน
บุคลากร
ส่วนใหญ่ไม่มีวุฒิและไม่ได้รับการฝึกอบรมแค่ในปี ค.ศ 1972 จัดโปรแกรมฝึกอบรมครูปฐมวัยใช้เวลา 1 ปี ต่อมากระทรวงศึกษาธิการกำหนดว่า ครูที่จะสอนต้องสอบผ่าน Senire Cambridge Certificate และภาษามาเลย์
ปัจจุบันมีการอบรมครูทั้งก่อนปฏิบัติการและครูประจำการ