Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 - Coggle Diagram
บทที่ 8
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
โครงสร้างกระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
การใช้กระบวนการ
พยาบาลในการวินิจฉัยชุมชน
วางแผน
ดำเนินงาน
จัดลำดับความสำคัญ
ของปัญหา
ติดตาม
ประเมินผล
ค้นหาปัญหา
กระบวนการอนามัยชุมชน
การวางแผนการดำเนินการเพื่อแก้ปัญหา
การดำเนินงานตามแผนที่กำหนด
การวินิจฉัยและการจัดลำดับความสำคัญ
การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
การประเมินภาวะอนามัยชุมชน
การประเมินภาวะอนามัยชุมชน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
การทดลอง
การสังเกต
ข้อมูลจากสัมภาษณ์
ข้อมูลทุติยะภูมิ
สถิติจำนวนประชากร
สถิติโรคติดต่อย้อนหลัง
การประเมินชุมชน
การเตรียมชุมชน
การเตรียมชุมชน
การศึกษาชุมชน
การเข้าถึงชุมชน
การระบุปัญหาอนามัยชุมชน
การวินิจฉัยการจัดลำดับความสำคัญ
ของปัญหาสุขภาพชุมชน
การวินิจฉัยชุมชน
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินชุมซน
เครื่องมือประเมนชุมชนโดยใช้ครอบครัว
เป็นฐาน
เครื่องมือการวัดพฤติกรรมสุขภาพ
ใช้แนวคิดการประเมินชุมชน ในฐานะผู้รับบริการ
เครื่องมือทางระบาดวิทยา
วิธีทางมนุษย์วิทยา
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพชุมชน
วิธีการศึกษาเชิงปริมาณ
การสอบถาม
การทดสอบ
วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ
การสังเกต
การสัมภาษณ์เจาะสึก
การสนทนากลุ่ม
การระบุปัญหาอนามัยชุมชน
ประธาน + กริยา + กรรม + อัตรา(ร้อยละ)
อัตราตาย
อัตราความพิการ
อัตราป่วย
แนวทางกำหนดปัญหา
การระบุปัญหาโดยใช้หลักของ 6 D
โรค
ความไม่สุขสบาย
พิการ/การไร้ความสามารถ
ความไม่พึงพอใจ
ตาย
ข้อบกพร่อง/ขาดแคลน
การระบุปัญหาโดยใช้เปรียบเทียบกับเกณฑ์
การระบุปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
ชุมชนหรือผ้นำชุมชน
ประชาชนมีส่วนร่วมใน
การตัดสินใจ
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ปัญหาสุขภาพชุมชน
มีหลายปัญหา
ความสลับซับซ้อน
แตกต่างกัน
มีหลายสาเหตุ
ไม่สามารถแกัไขทุกปัญหา
ไปพร้อมกันได้
พิจารณาองค์ประกอบ 4 อย่าง
ความรุนแรงของปัญหา
ความยากง่ายในการแก้ไขปัญหา
ขนาดของปัญหา
ความร่วมมือ หรือความสนใจของชุมชน
การให้คะแนนปัญหา
5 หมายถึง มากที่สุดหรือสำคัญที่สุด
4 หมายถึง มาก หรือสำคัญมาก
3 หมายถึง ปานกลาง
2 หมายถึง น้อย
1 หมายถึง น้อยที่สุด
ขนาดของปัญหา
โรคติดต่อ
หรือการแพร่กระจาย
จำนวนผู้ป่วย
แนวโน้มของโรค
ความรุนแรงของปัญหา
อันตรายถึงแก่ความตาย
เกิดผลเสียต่อครอบครัว ชุมชน
โรคหรือปัญหาก่อใหัเกิดความเสียหาย
เสียหายต่อเศรษฐกิจ
อัตราตายหรือความทุพพลภาพ
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ด้านวิซาการ
ความพร้อมด้านความรู้วิชาการ
แหล่งความรู้หรือหน่วยงาน
ด้านบริหาร
งบประมาณ
วัสดุอุปกรณ์
บุคลากร
วิธีการบริหารจัดการ
นโยบายของผู้บริหาร
ด้านระยะเวลา
เพียงพอที่จะแก้ไขปัญหาหรือไม่
ด้านกฎหมาย
การแก้ปัญหาขัดแยงต่อของกฎหมาย
หรือไม่
ด้านศีลธรรม
การแกปัญหาขัดกับศีลธรรม หรือประเพณี
ความสนใจหรือความตระหนักของ
ชุมชนที่มีต่อปัญหา
ประชาชนในชุมชนเห็นว่าปัญหา
ความสำคัญ
ความวิตกกังวล
สนใจ
ต้องการแก้ไข