Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 โครงสร้างรับเเรงตามเเนวเเกนเเละโมเมนต์ดัดร่วมกัน, จัดทำโดย -…
บทที่ 5
โครงสร้างรับเเรงตามเเนวเเกนเเละโมเมนต์ดัดร่วมกัน
ตัวคูณเพิ่มค่าโมเมนต์ดัน (Moment Amplification Factor)
Mu = B1
Mnt + B2
Mlt
ค่าโมเมนต์ที่ได้จากการวิเคราะห์โครงสร้างโดยวิธี Elastie เรียกว่า First Order Moment
การวิเคราะห์หาโมเมนต์ดัดของโครงสร้างข้อเเข็งที่ไม่มีค้ำยัน มี 2 ขั้นตอน
1 ) หาโมเมนต์ดัดของ Mnt โดยใส่เเรงสมมติในเเนวนอนที่ระดับชั้นต่าง ๆ เพื่อทำให้โครงสร้างไม่เกิดการเซ
2 ) หาโมเมนต์ดัดของ Mlt เมื่อปล่อยให้โครงสร้างเกิดการเซเนื่องจากการกระทำของเเรงสมมุติในเเนวนอน
การออกเเบบโครงสร้างรับเเรงตามเเกนเเละโมเมนต์ดัดร่วมกัน
ตามมาตรฐาน AISC ให้พิจารณาออกเเบบองค์อาคารรับเเรงตามเเนวเเกนเเละโมเมนต์ดัดร่วมกันตามปฎิสัมพันธ์ระหว่างเเรงตามเเนวเเกนกับโมเมนต์ดัดในองค์อาคาร
การออกเเบบองค์อาคารรับเเรงตามเเนวเเกนเเละโมเมนต์ดัดร่วมกัน จำต้องอาศัยวิธี Trial and Error Yura (1988) ได้เสนอให้เเปลงเเรงตามเเนวเเกนสูงสุดเเละโมเมนต์ดัดสูงสุดที่กระทำตามเเนวเเกนเทียบเท่า (Equivalent Axial Load)
b = ความกว้างของหน้าตัด
d = ความลึกของหน้าตัด
(Amplification Factor for The Moment in Unbraced in Braced Framer)
Δoh = ระยะโก่งตัวด้านข้างของชั้นที่พิจารณา
∑ Pu = ผลรวมของเเรงตามเเนวเเกน
ของเสาทุกต้นของชั้นที่พิจารณา
∑ H = ผลรวมของเเรงในเเนวนอนของทุกชั้นที่อยู่เหนือขึ้นไปจากชั้นที่พิจารณา
∑ Pe2 = ผลรวมของน้ำหนักออยเลอร์ของเสาทุกต้นในชั้นที่พิจารณา
L = ความสูงของเสาทุกต้น
(Amplification Factor for The Moment in Moment in Braced Framer)
(B1 = Cm / (1-Pu / Pel)) >1.0
Cm = 0.6 - 0.4(M1/M2)
Pu = เเรงกระทำตามเเนวเเกนสูงสุดที่พิจารณาออกเเบบ
จัดทำโดย
นายณัฐกร งามขำรหัสนิสิต 60361224
นายพชรพล สมัครเขตรการ รหัสนิสิต 60363150
นางสาวพิมพ์ผกา หล้านามวงค์ รหัสนิสิต 60363402
นายพีรพัฒน์ กาญจนเพชร รหัสนิสิต 60363471
นายสิปปกร พิริยะอนันตกุล รหัสนิสิต 60365086