Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 การติดตาม นิเทศ และการประเมิน งานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 9 การติดตาม นิเทศ และการประเมิน
งานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การติดตามงาน
บทนำ
ความหมาย
ติดตามและเก็บข้อมูล วิเคราะห์ สรุป
ทวนสอบ+ดูความก้าวหน้า
ตรวจสอบการดำเนินงาน
ประสิทธิภาพ
บรรลุเป้าประสงค์
ข้อมูลย้อนกลับ
ความสำคัญ
กำหนดความรับผิดชอบ
ตรวจสอบความก้าวหน้า
ตรวจสอบความล่าช้า
การใช้ทรัพยากร
ตรวจสอบความราบรื่น
ตรวจสอบประสิทธิภาพ+ผล
ปัญหา+อุปสรรค
เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ
เกิดการเรียนรู้
ความสำคัญของแผนงาน
ผลการใช้ทรัพยากร
ผลการปฏิบัติงาน
ผลการดำเนินงาน
ประเภทของการติดตาม
แบ่งตามสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ
ควบคุมปริมาณ
ควบคุมด้านคุณภาพ
ควบคุมด้านเวลา
ด้านค่าใช้จ่าย
แบ่งตามจุดมุ่งหมาย
การปฏิบัติตามกฎและระเบียบ
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติเชิงวิเคราะห์
แบ่งตามองค์ประกอบ
ด้านปัจจัยนำเข้า
ด้านกระบวนการ
ด้านการผลิต
แบ่งตามลักษณะทั่วไป
แนวโน้ม
งานขั้นต้น
การดำเนินการตามแผน
ประสิทธิผล
โครงการ
ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ
การปฏิบัติกฏและระเบียบ
หลักการ
วิธีการ
ติดตามจากบันทึก/รายงาน
เก็บข้อมูลโดยตรง
สังเกต
สัมภาษณ์
ทำตาราง/แผนภูมิติดตามงาน
หลักการ
ขั้นตอนการศึกษาโครงการ+วางแผนติดตาม
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลทุติยภูมิ
การเก็บข้อมูลปฐมภูมิ
ขั้นตอนเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการตัดสินใจ
รูปแบบการติดตาม
เป็นทางการ
ไม่เป็นทางการ
การนิเทศงาน
ที่มา
ความหมาย
ชี้แจง จำแนกเกี่ยวกับงาน
ทำงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์
เกิดการพัฒนาบุคคลากร
ทำงานแบบผสมผสาน
กระตุ้นให้ตระหนักภาระงาน
ความสำคัญ
ต่อบุคคลากร
ต่อองค์กร
ต่อวิชาชีพ
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาบุคคลากร
เพื่อพัฒนางาน
เพื่อสร้างความสัมพันธ์
เพื่อสร้างขวัญกำลังใจคนทำงาน
หลักการ
กระบวนการ
ขั้นประเมินสภาพปัจจุบัน
ขั้นวางแผน
ขั้นการลงมือปฏิบัติ
การสร้างขวัญและกำลังใจ
ขั้นประเมินผล
ขั้นรายงาน
วิธีการ
นิเทศแบบเผชิญหน้า
รายบุคคล
แบบกลุ่ม
นิเทศผ่านสื่อ
หลักการ
หลักความถูกต้องทางวิชาการ
หลักความเป็นเหตุเป็นผล
หลักการมีส่วนร่วม
หลักการสร้างสรรค์
หลักภาวะผู้นำ
หลักมนุษยสัมพันธ์
การประเมินงาน
ที่มา
ความสำคัญ
ใช้กำหนดวัตถุประสงค์+มาตรฐาน
ช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์
ควบคุมคุณภาพ
ควบคุมการใช้ทรัพยากรณ์
ใช้วางแผน
สร้างขวัญกำลังใจ
องค์ประกอบ
ประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล
ผลกระทบ
ประเภท
แบ่งตามการประเมินปฏิบัติงาน
ประเมินก่อนเริ่มโครงการ
ระหว่างดำเนินการ
หลังดำเนินงาน
แบ่งโดยยึดหลักการประเมิน
ประเมินขั้นต้น
ประเมินระหว่างดำเนินงาน
ประเมินสุดท้าย
ประเมินกระทบ
แบ่งโดยยึดแบบแผนการประเมิน
ประเมินเชิงสำรวจ
ประเมินเชิงทดลอง
ประเมินโดยใช้รูปแบบของการประเมิน
หลักการ
กระบวนการ
แบบสตัฟเฟิลบีม
ประเมินบริบทสภาพแวดล้อม
ประเมินปัจจัยนำเข้า
ประเมินกระบวนการ
ประเมินผลผลิต
แบบไทเลอร์
กำหนดวัตถุประสงค์
ระบุเนื้อหา
หารูปแบบ+วิธีการจัดการสอน
หาเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการ
วิธีการประเมินที่มุ่งเน้นกระบวนการ
เป็นทางการ
ไม่เป็นทางการ
เชิงธรรมชาติ
เชิงระบบ
วิธีการประเมินที่มุ่งเน้นผู้ประเมิน
ประเมินการทำงานของเจ้าหน้าที่โดยผู้บริหาร
ประเมินการทำงานของเจ้าหน้าที่โดยคณะกรรมการประเมิน
ประเมินการทำงานของเจ้าหน้าที่โดยคนทำงานระดับเดียวกัน
ประเมินการทำงานของผู้บริหารโดยผู้ปฏิบัติงาน
ประเมินการทำงานของเจ้าหน้าที่โดยผู้รับบริการ
หลักการประเมิน
ด้านแนวคิดของการประเมิน
กำหนดแนวคิดหลักการร่วมกัน
มีทัศนะคติดีในการประเมิน
นโยบายชัดเจน
สร้างกระบวนการเรียนรู้
สื่อสารทำความเข้าใจ
หลักการออกแบบการประเมิน
ถูกต้องตามแบบแผน
เหมาะสมกันสถานการณ์
ครอบคลุมเนื้อหา
ตัวชี้วัดชัดเจน
ไม่ซับซ้อนเกินไป