Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันสุขภาพทางการพยาบาล - Coggle Diagram
การประกันสุขภาพทางการพยาบาล
Deming cycle
2.PDCA คือ วงจรการบริหารงานคุณภาพ
ย่อมาจาก 4 คำ
1.P=Plan (ขั้นตอนการวางแผน)
2.D=Do (ขั้นตอนการปฏิบัติ)
3.C=Check (ขั้นตอนการตรวจสอบ)
4.A=Action (ขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสม)
ISO คือ องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน Interational Standards Organization
4.IOS 9003 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ กำกับดูแลเรื่องการตรวจ และการทดสอบขั้นสุดท้าย
5.IOS 9004 เป็นแนวทางในการบริหารงานคุณภาพ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
3.IOS 9002 มาตรฐานระบบคุณภาพ กำกับดูแลเฉพาะการผลิต การติดตั้ง การบริการ
6.IOS 14000 เป็นระบบมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมมุ่งเน้นให้องค์กรมีการพัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม
2.IOS 9001 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งการออกแบบและพัฒนาการผลิต การติดตั้ว การบริการ
7.IOS 18000 มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1.IOS 9000 คือการจักระบบการบริหารเพื่อประกันคุณภาพที่สามารถตรวจสอบได้ โดยผ่านระบบเอกสาร
กิจกรรม 5 ส
3.สะอาด Seiso ทำความสะอาด คือ การปัดกวาด เช็ดถูสถานที่ สิ่งของ อุปกรณ์ให้สะอาดอยู่เสมอ
4.สุขลักษณะ Seiketsu รักษาความสะอาด คือ การรักษาและปฏิบัติ 3 ส ได้แก่ สะสาง สะดวก สะอาด
2.สะดวก Seition วางของในที่ที่ควรอยู่ คือ การจัดวางของที่จำเป็นต้องใช้ให้เป็นระเบียบสามารถหยิบใช้งานได้ทันที
5.สร้างนิสัย Shitsuke ฝึกให้เป็นนิสัย คือ การรักษาและปฏิบัติ 4 ส หรือสิ่งที่กำหนดไว้แล้วอย่างถูกต้องจนติดเป็นนิสัย
1.สะสาง Seiri ทำให้เป็นระเบียบ คือ การแยกระหว่างของที่จำเป็นต้องใช้กับของที่ไม่จำเป็นต้องใช้
กิจกรรมหลัก 3 ขั้นตอน
การพัฒนาคุณภาพ
2.ประโยชน์สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ได้แก่
-ความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจากการทำงานลดลง
-ความเสี่ยงต่อการเข้าใจผิดระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่ลดลง
-สิ่งแวดล้อมในการทำงานและการประสานงานดีขึ้น
-เจ้าหน้าที่ได้เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเอง
3.ประโยชน์สำหรับโรงพยาบาล ได้แก่
-การเป็นองค์กรเรียนรู้
-สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
-ทำให้องค์กรอยู่รอดและยั่งยืน
1.ประโยชน์สำหรับผู้ป่วย ได้แก่
-ความเสี่ยงต่อการประสบความสูญเสีย หรือภาวะแทรกซ้อนลดลง
-คุณภาพการดูแลรักษษดีขึ้น
-ได้รับการพิทักษ์สิทธิ์ผู้ป่วย
การประเมินคุณภาพ
2.การสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม (Social accountability)
3.การให้ข้อมูลข่าวสาร เพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้บริโภค
1.การกระตุ้นให้โรงพยาบาลเกิดแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพ
4.การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน โดยการที่ผู้บริหารและผู้ประกอบวิชาชีพของโรงพยาบาลต่างๆ ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและผู้ประเมินในลักษณะของอาสาสมัคร
การประเมินคุณภาพ
1.มีวิธีการหรือแผน และระบบที่ชัดเจนที่มุ่งบรรลุผลองค์กร
2.การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติดำเนินการครอบคลุมทุกขั้นตอนตามแผนทุกหน่วยงาน
3.การเรียนรู้ ติดตามประเมินผลลัพธ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำไปสู่การปรับปรุง
4.การบูรณาการความสอดคล้องระหว่างแผนปฏิบัติวัดวิเคราะห์ ปรับปรุงมุ่งสู่เป้าหมายองค์กร