Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความ เสี่ยง นางสาวกาญจนาพร แสนทวีสุข 60170005 - Coggle Diagram
การบริหารความ
เสี่ยง
นางสาวกาญจนาพร แสนทวีสุข 60170005
ความหมายของ
ความเสี่ยง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง มีโอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ ได้แก่ การบาดเจ็บ ความเสียหาย
เหตุร้าย การเกิดอันตราย เกิดความเกิดความไม่แน่นอน
การไม่พิทักษ์สิทธิหรือศักดิ์ศรีหรือเกิดไม่ความสูญเสียจนต้องมีการ
ชดใช้ค่าเสียหาย
วัฒนธรรมความปลอดภัย
(safety culture)
(1) การรับรู้ถึงธรรมชาติขององค์กรที่มีความเสี่ยงสูง มีโอกาสเกิดความผิดพลั้ง
(2) ลักษณะองค์กรที่ไม่มีการตำหนิกัน บุคลากรสามารถรายงานความผิดพลั้ง โดยไม่ต้องหวาดกลัวว่าจะถูกลงโทษ
(3) มีความร่วมมือกันอย่างกว้างขวางเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่าง ๆ
(4) ความเต็มใจขององค์กรที่จะสนับสนุนทรัพยากรเพื่อความปลอดภัย
การจัดการความเสี่ยงหรือ การบริหารความเสี่ยง
(Risk management)
คือ การจัดการความเสี่ยง ทั้งในกระบวนการในการระบุ วิเคราะห์ (Risk analysis) ประเมิน (Risk assessment) ดูแล ตรวจสอบ และควบคุมความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับกิจกรรม หน้าที่และกระบวนการทำงาน เพื่อให้องค์กรลดความเสียหายจากความเสี่ยงมากที่สุด
เหตุผลและวัตถุประสงค์
ที่ต้องบริหารความเสี่ยง
1.เพื่อรับรู้ จำกัดและควบคุมผลกระทบ
2.เพื่อลดโอกาสและปริมาณความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น
เพื่อการบริหารงาน การมีระบบงานที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อเป็นตัวชี้วัด
ผลกระทบของความเสี่ยง
ทางกายภาพ
ทางอารมณ์
ทางสังคม
ทางจิตวิญญาณ
หน้าที่รับผิดชอบ
ในการบริหารความเสี่ยง
หัวใจที่สำคัญ
คือ เริ่มจากการให้คนในองค์กรทุกคนรู้สึกว่ามันเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องทำ และเราทุก ๆ คนต้องมีส่วนร่วม
ประเภทของความเสี่ยง
1. ความเสี่ยงทั่วไป
คือ ความเสี่ยงที่ไม่ได้มีสาเหตุจากการรักษาพยาบาล แต่เกิดจากปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลทำให้เกิดความเสียหาย ได้แก่
ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม
ความเสี่ยงด้านข้อร้องเรียน และสิทธิผู้ป่วย
ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีและเวชระเบียน
ด้านสนับสนุนการบริการ
2. ความเสี่ยงทางคลินิก (Clinical Risk)
คือ ความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการรักษาพยาบาลผู้ป่วยไม่ถูกต้อง หรือ ไม่มีประสิทธิภาพ เป็นเหตุทำให้ผู้ป่วยเกิดอันตราย ได้แก่
Communication หมายถึง การสื่อสารระหว่างทีมผู้ให้การรักษาพยาบาลการให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วย
Operation หมายถึง การทำผ่าตัด หรือหัตถการ
Medication หมายถึง การให้ยาผู้ป่วย
Blood หมายถึง การให้เลือด หรือส่วนประกอบของเลือด
Solution หมายถึง การให้สารละลายทางเส้นเลือด
Fall หมายถึง ผู้ป่วยพลัดตกหกล้ม
Alarm System หมายถึง การติดตั้งสัญญาณของเครื่องมือในการดูแลผู้ป่วย
CPR หมายถึง การกู้ชีวิตล้มเหลว เนื่องจากอุปกรณ์/ยา ขาดประสิทธิภาพ หรือไม่พร้อมใช้
Ethics หมายถึง การละเมิดสิทธิของผู้ป่วย การบ่งชี้ผู้ป่วยไม่ถูกต้อง
2.1 ความเสี่ยงทางคลินิกทั่วไป (Common Clinical Risk)
2.2 ความเสี่ยงเฉพาะโรค (Specific Clinical Risk)
หมายถึง เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ซึ่งเกิดจากการรักษาพยาบาลเฉพาะโรค หรือหัตถการนั้นๆ เช่น Hypoglycemia ในผู้ป่วย DM, Brain hematoma จาก Stoke
การบริหารความเสี่ยง
ประกอบด้วย
การค้นหาความเสี่ยง
-ศึกษาจากอดีต
-สำรวจในปัจจุบัน
-เฝ้าระวังไปข้างหน้า
การประเมินความเสี่ยง
การจัดการความเสี่ยง
-หลีกเลี่ยง
-ป้องกัน
-ถ่ายโอน
-แบ่งแยก
-ลดความสูญเสีย
การจ่ายเงินชดเชย
การประเมินผล