Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความขัดแย้ง ( Conflict Management) - Coggle Diagram
การบริหารความขัดแย้ง ( Conflict Management)
ความหมายของความขัดแย้ง
สภาพการณ์ที่ทำให้คนตกอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือตกลงหาข้อยุติอันเป็นที่พอใจได้
อันเป็นที่พอใจของทั้งสองฝ่ายได้
สภาพการณ์หรือสถานการณ์ที่เป็นความแตกต่างที่บุคคล2 คน หรือมากกว่า แสดงพฤติกรรม
เปิดเผยออกมาอย่างแตกต่างกัน
ประเภทของความขัดแย้ง
ประเภทที่ 2 ความขัดแย้งระหว่างบุคคล (Interpersonal
Conflict)
ประเภทที่ 3 ความขัดแย้งภายในกลุ่ม (Intragroup Conflict)
ประเภทที่ 5 ความขัดแย้งในองค์การ (Intraoganizational Conflict)
ประเภทที่ 6 ความขัดแย้งระหว่างองค์การ (Interoganizational Conflict)
ประเภทที่ 4 ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (Intergroup Conflict)
ประเภทที่ 1. ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล(Intrapersonal Conflict)
ผลของความขัดแย้ง
ผลดีของความขัดแย้ง
ช่วยให้มีการปรับปรุงทางเลือกในการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ช่วยให้เกิดการหาข้อพิสูจน์ที่สมเหตุสมผลก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรคสิ่งแปลกใหม่
ความขัดแย้งมักก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
สมาชิกในองค์การได้รับการกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจ และพบแนวทางในการทำงานได้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
ผลเสียของความขัดแย้ง
เกิดการต่อต้านทั้งทางอ้อมและเปิดเผย
ผู้แพ้มักจะหลบหนีสังคม เก็บเนื้อเก็บตัว ตัวผู้ชนะก็จะตีปีกร่าเริง
บรรยากาศของความจริงใจ และความไววางใจจะหมดสิ้นไป
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลงไป
ความขัดแย้งที่ได้รับการแก้ไขไม่ถูกต้องอาจทำให้สมาชิกในองค์การเกิดความรู้สึกเครียดเหนื่อยหน่าย หมดกำลังใจ ท้อแท้ส่งผลให้การดำเนินงานขององค์การไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ทำให้ผลผลิตขององค์การลดลง
หลักการที่จะแก้ความขัดแย้ง (Mind Set)
6.เอาใจใส่ซึ่งกันและกันและไม่เห็นแก่ตัว
มีความจริงใจที่แสดงความต้องการที่แท้จริงออกมา
หลีกเลี่ยงการใช้คะแนนเสียงข้างมากเป็นข้อยุติ
ทั้ง 2 ฝ่ าย มีทัศนคติในการแก้ไขปัญหามากกว่าการเอาชนะซึ่งกันและกัน
4.หาข้อมูลเพิ่มเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
1.ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ และอาจเกิดขึ้นได้เสมอ
บทบาทของผู้นำต่อปัญหาความขัดแย้ง
4.พิจารณาความเป็นธรรมชาติของความอิสระซึ่งกันและกัน(Examine the nature of Independence)
ต้องพร้อมที่จะเสี่ยง (Take Risk)
การสร้างเป้าประสงค์และค่านิยมร่วม(Build a superodinate Gold)
แสดงความมีอำนาจ (Demonstrate Power)
การติดต่อสื่อสารที่ชัดเจนต่อเนื่อง(Atriculate Communication)
7.ต้องจำกัดขอบเขตในสิ่งที่ทำสำเร็จแล้ว(Confine to fail accompli)
8.การสร้างความเชื่อมั่นร่วมกัน(Build Mutual Trust)
9.ความสมดุลถูกต้องในการจูงใจ (Legitimize complex Motivation)
10.การสร้างความเห็นอกเห็นใจ Build Empathy)
ให้ความสนใจกับประเภทต่างๆของความขัดแย้งเช่น ความขัดแย้งระหว่างบุคคลภายในบุคคลความขัดแย้งภายในหน่วยงาน
แนวคิดเกี่ยวกับความขัดแย้ง
แนวคิดด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relations View) เชื่อว่า ความขัดแย้งอาจจะเกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงไม่ได้ภายในทุกองค์การ
แนวคิดสมัยใหม่ (Contemporary View) เมื่อแนวคิดด้านมนุษยสัมพันธ์ เชื่อว่าความขัดแย้ง
มุมมองที่เป็นแนวความคิดสมัยใหม่
แนวคิดสมัยดั้งเดิม (Traditional View) เชื่อว่า ความขัดแย้งเป็นสิ่งไม่ดี
และมีผลกระทบด้านลบต่อองค์การอยู่เสมอ ดังนั้น หากหลีกเลี่ยงได้ควรหลีกเลี่ยง
สาเหตุที่ทำให้มนุษย์ขัดแย้งกัน
2.แนวทางปฏิบัติ ผู้ที่มีแนวความคิดเห็นอย่างเดียวกัน ย่อมจะร่วมงานกันได้แต่แนวทางปฏิบัติย่อมจะแตกต่างกัน เพราะการทำงานสำเร็จตามเป้าหมาย
3.ผลประโยชน์คือสิ่งที่ทุกคนต้องการหรือความพอใจของแต่ละคนความขัดแย้งกันเพราะผลประโยชน์มองเห็นได้ชัดเจนและเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันมากที่สุด ผลประโยชน์เป็นมูลเหตุที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
1.ความคิดเห็น ความคิดเห็นที่ตรงกันของบุคคลจะช่วยให้บุคคลคบค้าสมาคมกันได้อย่างราบรื่นแต่ถ้าความคิดเห็นไม่ลงรอยกันและฝ่ายหนึ่งไม่ยอมรับความคิดเห็นของอีกฝ่ายว่าถูกต้องความขัดแย้งก็จะเกิดขึ้น