Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกาารเจ็บครรภ์ (Premature rupture of membrane) - Coggle…
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกาารเจ็บครรภ์
(Premature rupture of membrane)
1.ความหมาย
มารดา G1P0A0L0 GA 35+5 weeksให้ประวัติว่ามีน้ำใสๆไหลออกจากช่องคลอด เวลา 15.00 น. รู้สึกท้องเจ็บครรภ์ จึงมาโรงพยาบาล
PPROM : แตกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
PORM หมายถึง ภาวะที่ถุง น้ำคร่ำรั่วหรือแตกเองก่อนที่จะเข้าสู่ระยะการเจ็บครรภ์คลอดที่แท้จริง
prolonged rupture of the membranes : ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนคลอดนานเกิน 24 ชั่วโมง
2.สาเหตุ
รกลอดตัวก่อนกำหนด (abruptio placenta) หรือรกเกาะต่ำ (placenta previa)
ปากมดลูกปิดไม่สนิท (cervical incompetence)
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าก้น ท่าขวาง CPD
ปัจจัยส่วนบุคคลหรือพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ เช่น มีเศรษฐานะต่ำ สูบบุหรี่ มากกว่า 20 มวน/วัน
การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ (chorioamnionitis)
มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
ครรภ์แฝด(twins) และครรภ์แฝดน้ำ (hydramnios)
กรณีศึกษาไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
3.การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
speculum examination
cough test
cough test : positive
PV แรกรับ Cervix dilation fingertips Effacement soft Membrane rupture Station -2
ให้ประวัติว่ามีน้ำใสๆไหลออกจากช่องคลอด เวลา 02.00 น.
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การทดสอบรูปใบเฟิร์น (Fern test)
การทดสอบไนบลู (Nile’ blue test)
Nitrazine paper test
ไม่ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
4.อาการและอาการแสดง
อัลตราซาวด์ พบน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ หรือลดลง
กดเจ็บที่มดลูก
FHS น้อยกว่า 120 ครั้ง/นาที กรณีสายสะดือถูกกด
กรณีน้ำคร่ำรั่วบ่อยๆ จนเกิดภาวะ Oligohydramnios อาจเกิดการเจริญเติบโตช้าในครรภ์ร่วม ด้วย
อาจเกิดระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
น้ำคร่ำสีขุ่น มีกลิ่นเหม็น
มารดา G1P0A0L0 GA 35+5 weeksเวลา 02.00 น. ให้ประวัติว่ามีน้ำใสๆไหลออกจากช่องคลอด
สัญญาณชีพ เปลี่ยนแปลง กรณีมีการติดเชื้อในโพรงมดลูก
ประวัติ น้ำไหลออกทางช่องคลอด
CBC พบ เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นผิดปกติ
5.การรักษา
ในรายที่มีการติดเชื้อ รักษาโดยการให้ยาปฏิชีวนะ
มารดารายนี้ ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ
ในรายที่ไม่มีการติดเชื้อ
2.1 อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ ให้การรักษาแบบประคับประคอง(conservative)
มารดานอนพักบนเตียง หลีกเลี่ยงการตรวจภายใน
ถ้าอายุครรภ์ประมาณ 34 สัปดาห์ ตรวจ Shake test เพื่อประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ของปอด(lung maturity )
ถ้าน้ำคร่ำหยุดไหลแล้ว แพทย์อาจอนุญาตให้กลับบ้านได้
มารดาน้ำหยุดไหล แต่ยังมีcontraction
แพทย์พิจารณาให้ ส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
2.2 อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไป ปล่อยคลอด และควรให้คลอดภายใน 24 ชั่วโมง
การให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroids) เช่น เด็กซาเมธาโซน(dexamethasone) สามารถลดอุบัติการณ์ของภาวะ RDSได้ แต่ทำให้เกิดการติดเชื้อในสตรีตั้งครรภ์และทารกเพิ่มขึ้น
ได้รับยาเร่งการเจริญของปอดทารก คือ Dexamethasone 6 mg IM q 12 hr. * 4 dose และยาป้องกันการติดเชื้อเนื่องการมีภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด คือ Ampicillin 2 mg vein q 6hr.
6.การพยาบาล
สังเกตอาการและอาการแสดงของ Chorioamnionitis
ช่วยในการตรวจทางหิองปฏิบัติการต่าง ๆ
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบถึงอาการและอาการแสดงของภาวะถุงน้ำคร่ำแตก
หลีกเลี่ยงหรืองดการตรวจทางช่องคลอด
ช่วยดูแลในการให้ Oxytocin เพื่อเร่งคลอดในรายที่จำเป็นตามแผนการรักษา
อำนวยความสุขสบายและรักษาสุขวิทยาส่วนบุคคลให้สะอาดเสมอ
ในรายที่ระบุว่าให้การรักษาแบบประคับประคองให้การดูแลดังนี้
แนะนำให้ผู้ป่วยสังเกตอาการและอาการแสดงของการเจ็บครรภ์
แนะนำและให้ความรู้เกี่ยวกับการนอนพักผ่อนบนเตียง
สังเกตอาการและอาการแสดงของ Chorioamnionitis ทุก 6 ชม.
ดูแลให้ได้รับยา Glucocorticoids Tocolytics หรือ Antibiotics ตามแผนการรักษา
แนะนำมารดานอนพักผ่อนบนเตียง สังเกตการดิ้นของทารก
แนะนำให้มารดาเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3-4 ชั่วโมง
จากการสังเกตของมารดา น้ำคร่ำไหลออกเล็กน้อยเปื้นผ้านามัย ลักษณะสีใส ไม่มีกลิ่นเหม็น
ได้รับยาเร่งการเจริญของปอดทารก คือ Dexamethasone 6 mg IM q 12 hr. * 4 dose และยาป้องกันการติดเชื้อเนื่องการมีภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด คือ Ampicillin 2 mg vein q 6hr. ตามแผนการรักษา