Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รกเกาะต่ำ (placenta previa) - Coggle Diagram
รกเกาะต่ำ (placenta previa)
ความหมาย
ภาวะที่รกเกาะต่ำกว่าปกติ โดยเกาะลงมาถึงบริเวณส่วนล่างของผนังมดลูก (lower uterinesegment)ซึ่งรกอาจเกาะใกล้หรือคลุมปากมดลูก ด้านใน (internal os) เพียงบางส่วนหรือทั้งหมด
ชนิด
รกเกาะติดขอบ (marginal placenta previaor placenta previa type 2)
รกเกาะต่ำบางส่วน (partial placenta previa or placenta previa type 3)
รกเกาะอยู่ต่ำ (low-lying placenta or placenta previa type 1)
รกเกาะต่ำอย่างสมบูรณ์ (total placenta previa or placenta previa type 4 or major previa)
Cesarean Section
ทารกเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาในระบบทางเดินหายใจและพร่องออกซิเจน
มารดาเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากยาระงับความรู้สึก
พยาธิสภาพ
blastocyst จะเลื่อนลงมาฝังตัวในตําแหน่งผนังมดลูกส่วนล่าง
การไหลเวียนเลือดในบริเวณเยื่อบุโพรงมดลูกผิดปกติ/จากการที่เยื่อบุโพรงมดลูกหรือกล้ามเนื้อมดลูกเคยได้รับการทำหัตถการบางอย่างมาก่อน
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ขูดมดลูก
ทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกมีร่องรอยแผลเป็น
ส่งผลให้การฝังตัวของรกผิดปกติไปจากตําแหน่งปกติ
รกมีขนาดใหญ่ขึ้นจากการที่อายุครรภ์เพิ่มมากขึ้น
ขัดขวางทางออกของทารกบริเวณรูเปิดด้านในของปากมดลูกส่งผลให้เกิดภาวะต่าง ๆ
การไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงมดลูกส่วนล่างจะมีน้อยกว่าบริเวณยอดมดลูก
เกิดภาวะเลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่มีอาการเจ็บปวดเมื่อมีการหดรัดตัวจะมีเลือดออกและมีการตกเลือดซ้ำๆ และปริมาณเลือดที่ออกจะเพิ่มมากขึ้น
ทำให้เกิดการติดเชื้อจากช่องคลอดได้ง่าย
ส่งเสริมให้ทารกในครรภ์อยู่ในท่าที่ผิดปกติ
ความผิดปกติของรกและสายสะดือ เช่น รกมีขนาดใหญ่และบาง
สาเหตุ
ปัจจัยที่ทำให้หล่อเลี้ยง decidua เสียไป
การผ่าท้องทำคลอดในครรภ์ก่อน
จำนวนครั้งของการคลอด (parity)
รกแผ่กว้างผิดปกติ
อายุ
การดำเนินโรคทางคลินิก
ไตรมาสที่สาม
ผนังมดลูกส่วนล่างจะยืดออกและบางตัวลง (lower segment formation)
รกถูกดึงรั้ง และมีการแยกตัวหรือลอกตัวจึงมีเลือดออกจาก
เลือดออกครั้งแรกเกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 30 สัปดาห์
รกเกาะต่ำชนิด totalis รกเกาะต่ำชนิด totalis อาจพบเลือดออกครั้งแรกตั้งแต่ปลายไตรมาสที่สองหรือช่วงต้นของไตรมาสที่สาม
ปริมาณเลือดที่ออกไม่สัมพันธ์กับชนิดของรกเกาะต่ำ อาการเลือดออกโดยส่วนมากจะไม่มีการเจ็บครรภ์ร่วมด้วย
อาการและอาการแสดง
อาจเกิดขึ้นได้ในช่วงระหว่างปลายไตรมาสที่ 2 ถึงต้นไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์
มีเลือดสีแดงสดไหลออกมาจากทางช่องคลอดและมักไม่มีความเจ็บปวดใดๆ ในช่วงหลังของการตั้งครรภ์
หยุดไหลแล้วอาจกลับมาไหลอีกในช่วง 2-3 วันหรือในช่วงสัปดาห์ต่อมา
ผิวซีด หายใจสั้น ชีพจรอ่อนหรือเต้นเร็วกว่าปกติ ความดันในเลือดลดต่ำลง โลหิตจาง
บางรายอาจมีอาการปวด เจ็บแปลบ หรือมีการบีบตัวของมดลูกร่วมด้วย
การวินิจฉัย
ประวัติอาการและอาการแสดง
เลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่เจ็บ
หน้าท้องนุ่มไม่แข็งตึง
คลำทารกได้ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ส่วนนำเป็นก้น(breech presentation) ทารกอยู่แนวขวาง (transverse lie)แนวเฉียง(obliquelie)
การตรวจหาตำแหน่งรกเกาะ
Ultrasound
MRI
Placentography โดยอาศัยการถ่ายภาพรังสี
การตรวจภายใน
double setup
ในรายที่ทราบตำแหน่งรกเกาะแล้วจะไม่มีความจำเป็นต้องการตรวจ double setup
ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบ
มารดา
มดลูกส่วนล่างหดรัดตัวไม่ดี
การเสียเลือดมากใน ระยะก่อนคลอดเนื่องจากมีภาวะเลือดออกทางช่องคลอด เป็นๆ หายๆ
เรื้อรังอาจทำให้สตรีตั้งครรภ์มีภาวะซีด อ่อนเพลีย ความเข้มข้นของเลือดต่ำ
ส่งเสริมให้เกิดการตกเลือด
กิดภาวะช็อคจากการเสียเลือด และเสียชีวิตได้
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
มารดาหลังคลอดอาจติดเชื้อได้ง่าย
ภาวะรกเกาะต่ำซ้ำในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ทารก
IUGR
ภาวะพร่องออกซิเจน
คลอดก่อนกำหนด
คะแนน แอฟการ์เมื่อแรกคลอดน้อย (APGAR score)
รักษา NICU
เสียชีวิต
ครอบครัว
รายได้
สัมพันธภาพ
ความวิตกกังวล
แนวทางการรักษา
รายที่อาการคงที่ให้ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อและพิจารณาผ่าตัดคลอดเมื่ออายุครรภ์ 37 สัปดาห์
รายที่มดลูกหดรัดตัวไม่มีเลือดออกแพทย์อาจพิจารณาให้ยาคลายกล้ามเนื้อมดลูกเพื่อยึดอายุครรภ์
ตรวจอัลตราซาวด์ทุก 2 สัปดาห์เพื่อดูการเจริญเติบโตของทารก (fetal growth)
รายที่ตกเลือดซ้ำและมีอาการซีดให้ยาเสริมเหล็กและพิจารณาให้เลือดทดแทน
มีภาวะรกเกาะต่ำควรรับไว้ในโรงพยาบาลตั้งแต่อายุครรภ์ 34 สัปดาห์จนถึงวันกำหนดให้คลอด
รายที่เกิด active bleeding รุนแรงต้องให้ผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน