Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันคุณภาพทางการพยาบาล, นางสาว ชลัญญา ตรงเมธี รหัส60170015 - Coggle…
การประกันคุณภาพทางการพยาบาล
กิจกรรม 5ส.
สะสาง SEIRI
ทําให้เป็นระเบียบ
การจัดวาง ของที่จําเป็นต้องใช้ให้เป็นระเบียบ
สะดวก SEITON
วางของในที่ที่ควรอยู่
สะอาด SEISO
การทำความสะอาด
การปัดกวาดเช็ดถูสถานการณ์ที่
สิ่งของ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องจักร ให้สะอาดอยู่เสมอ
สุขลักษณะ SEIKETSU
รักษาความสะอาด
ปฏิบัติ 3ส
สะสาง
สะดวก
สะอาด
สร้างนิสัย SHITSUKE
Total Quality Management;TQM
วัตถุประสงค์ทั่วไป
เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมทุกด้านและช่วยลดต้นทุน
เพื่อสร้างความพึงพอใจและยกระดับคุณภาพชีวิตของพนักงานทุกคน
เพื่อความอยู่รอดขององค์กรและการเจริญเติบโต
เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น
เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์ที่สำคัญที่สุด
เพื่อการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้สามารถใช้ศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ ด้วยการมีส่วนร่วมในการปรับปรุงงาน / คุณภาพของสินค้าหรือบริการ อันจะทำให้คุณภาพชีวิต (Quality of Life) ของพนักงานทุกคนดีขึ้นเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง
เพื่อการปรับปรุงคุณภาพของสินค้าหรือบริการให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันจะทำให้ลูกค้าเกิดความพอใจ (Customer Satisfaction)
ส่วนประกอบ
การให้ความสำคัญกับลูกค้า (Customer Oriented)
การพัฒนา/ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement)
สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม (Employees Involvement)
ประโยชน์สําหรับผู้ป่วย
ความเสี่ยงต่อการประสบความสูญ
เสียหรือภาวะแทรกซ้อนลดลง, คุณภาพการดูแลรักษาดีขึ้น,ได้รับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยและศักดิ์ศรีของความเป็นคนมากขึ้น
ความหมาย
T=Total
ระบบการบริหารจัดการคุณภาพ
Q=Quality
การสร้างความพึงพอใจของลูกค้า
โดยใช้แนวความคิดเชิงระบบของการจัดการ
M=Management
ระบบการบริหารจัดการคุณภาพ
ประโยชน์สําหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
ความเสี่ยงต่อ การเจ็บป่วยจากการทํางานลด
ลง, ความเสี่ยงต่อการเข้าใจผิดระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่ลดลง , สิ่งแวดล้อมในการทํางานและการประสานงานดีขึ้น, เจ้าหน้าที่ ได้เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเอง
ประโยชน์สำหรับโรงพยาบาล
การเป็นองค์กรเรียน
รู้,สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องสู่ความเป็นเลิศ, ทําให้องค์กรอยู่รอดและยั่งยืน
การพัฒนาคุณภาพ (QUALITY IMPROVEMENT)
กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง (risk management-RM)
การประกันคุณภาพ (quality assurance-QA)
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (continual quality improvement- CQI)
บันใด 3 ขั้นสู่ HA.
ขั้นที่ 1 สำรวจและป้องกันความเสี่ยง
นำปัญหามาทบทวน เพื่อแก้ไขป้องกัน
ปฏิบัติตามแนวทางป้องกันปัญหา
ครอบคลุมปัญหาที่เคยเกิด/มีโอกาสเกิดสูง
ขั้นที่ 2 ประกันและพัฒนาคุณภาพ
เริ่มตัวยการวิเคราะห์เป้าหมายและกระบวนการ
ประกันและพัฒนาคุณภาพที่สอดคล้องกับเป้าหมายของหน่วย
ครอบคลุมกระบวนการสำคัญทั้งหมด
ปฏิบัติตามมาตรฐาน HA ในส่วนที่ไม่ยากเกินไป
ชั้นที่ 3 วัฒนธรรมคุณภาพ
เริ่มตัวยการประเมิตนเองตามมาตรฐาน HA
พัฒนาอย่างเชื่อมโยง เป็นองค์กรเรียนรู้
ผลลัพธ์คุณภาพที่ดีขึ้น
ปฏิบัติตามมาตรฐาน HA ได้ครบถ้วน
จกรรมการบริหารความเสี่ยง (RISK MANAGEMENT-RM)
การบริหารความเสี่ยง คือ การค้นหา โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง การประเมิน ความเสี่ยง การวางมาตรการป้องกัน ความเสี่ยงหรือลดความสูญเสีย และการ ดําเนินการเมื่อเกิดความสูญเสียขึ้น
การประกันคุณภาพ (QUALITY ASSURANCE-QA)
การวางระบบเพื่อเป็นหลักประกันว่าจะมีการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานหรือแนวทางปฏิบัติที่กําหนดและมี ผลลัพธ์ตามที่คาดไว้
องค์ประกอบของการประกันคุณภาพ
P=Plan : การกําหนดมาตรฐาน / ระบบ / แนวทาง
D=Do : การปฏิบัติตามมาตรฐาน
C=Check: การวัดและประเมิน
A=Act การแก้ไขปัญหา / ข้อบกพร่องและ การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement)
การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement;CQI)
การมองหาโอกาสในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการต่างๆอย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับความเป็นไปได้
Joint Commission International (JCI)
เป็นองค์กรอิสระ เพื่อส่งเสริมการพัฒนา คุณภาพและความปลอดภัย ในการดูแลรักษา พยาบาลผู้ป่วย ให้กับสถานพยาบาลต่างๆ ทั่วโลกด้วยการตรวจประเมินอย่างละเอียด และให้การรับรองมาตรฐานคุณภาพแก่สถานพยาบาลที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อกําหนด
เจาะลึกถึง "คุณภาพ" ของการรักษาพยาบาลระหว่าง ผู้ให้การรักษาพยาบาล (Healthcare Provider)
สถานพยาบาล (อาคาร สิ่งอํานวยความสะดวก เครื่องมือ อุปกรณ์)
บุคลากร (ทุกส่วนไม่เฉพาะแพทย์ พยาบาล)
ผู้รับการรักษา (Patient) ซึ่งหมายรวมถึงผลกระทบ ต่อญาติ และผู้เกี่ยวข้อง
นางสาว ชลัญญา ตรงเมธี รหัส60170015