Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความขัดแย้ง Managing Conflict, นางสาวกัลญาณสิริ เมตตาพล …
การบริหารความขัดแย้ง
Managing Conflict
ค่านิยม ความคิด ความเชื่อ ความต้องการ
ความหมายของความขัดแย้ง
ความไม่เห็นด้วยในเรื่องต่างๆ ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคลหรือองค์กร
อาจเกิดเป็นเวลาสั้นๆ หรือคงอยู่เป็นเดือนเป็นปี
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล
(Intrapersonal Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
(Interpersonal Conflict)
ความขัดแย้งภายในกลุ่ม (Intergroup Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (Intergroup Conflict)
ความขัดแย้งในองค์กร (Intraoganizational Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างองค์กร(Interoganizational Conflict)
ประโยชน์ของความขัดแย้ง
เกิดแรงจูงใจในการทำงาน
เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆ
ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
มีการปรับปรุงและพัฒนางานให้ดีขึ้น
มีแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆที่เป็นประโยชน์กับองค์การและทำให้คุณภาพของชีวิตการทำงานดีขึ้น
ลดความตึงเครียดด้วยการระบายข้อขัดแย้ง
ชนิดของความขัดแย้ง
เจรจาได้
ผลประโยชน์,ปัญหาข้อมูล
เจรจายาก
ค่านิยนที่แตกต่าง,ปัญหาโครงสร้าง,ปัญหาความสัมพันธ์
รูปแบบพฤติกรรมเมื่อมีความขัดแย้ง
การหลีกเลี่ยง (Avoiding)
การยินยอมให้ผู้อื่น (Accommodating)
การต่อสู้ หารแข่งขัน (Competing)
ความร่วมมือร่วมใจ (Collaborating)
การเจรจาต่อรอง หรือการประนีประนอม
(Negotiating or Compromising)
วิธีการแก้ไขความขัดแย้ง
การหลบหนี (Withdrawal หรือ Avoidance)
ประนีประนอม (Compromise)
การบังคับ (Force)
ปรองดอง (Accommodation)
แก้ปัญหาหรือการร่วมมือกัน (Problem Solving)
หลักการ
นุ่มนวล ในประเด็นเรื่อง "คน"
แข็ง ในประเด็นของ "ปัญหา"
นางสาวกัลญาณสิริ เมตตาพล
60170004