Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 แนวคิดพัฒนาการมนุษย์และการดูตนเอง, นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ รหัสนักศึกษา…
บทที่1 แนวคิดพัฒนาการมนุษย์และการดูตนเอง
ระยะขั้นพัฒนาการมนุษย์
1)วัยก่อนคลอด=ปฏิสนธิ-คลอด
2)วัยทารกแรกเกิด=2สัปดาห์
3)วัยทารกตอนปลาย=2สัปดาห์-2ปี
4)วัยเด็กตอนต้น=2-6ปี
5)วัยเด็กตอนปลาย=6-12ปี
6)วัยรุ่น=13-18ปี
7)วัยผู้ใหญ่ตอนต้น=18-40ปี
8)วัยกลางคน=40-60ปี
9)วัยผู้สูงอายุ=60ปีเป็นต้นไป
การเจริญเติบโต (growth)
การเปลี่ยนแปลงทางด้านการเพิ่มขึ้นของจำนวนปริมาณ ขนาด และสัดส่วน ที่มีความแตกต่างของแต่ละคน
พัฒนาการ (Development)
การเปลี่ยนแปลงหรือกระบวนการเปลี่ยนแปลงทุกส่วนตั้งแต่เกิดจนตลอดชีวิต
กระบวนการพัฒนาการมนุษย์
กระบวนการทางชีวภาพ
เปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของมนุษย์
กระบวนการทางปัญญา
เปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญา ความคิด และภาษา
กระบวนการทางอารมณ์และสังคม
เปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ บุคลิกภาพด้านบุคคล
หลักพัฒนาการ
1)พัฒนาการเป็นไปตามฉบับของตัวเอง
4)อัตราพัฒนาเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
5)อัตราพัฒนาการส่วนต่างๆ ของร่างกายแตกต่างกัน
3)พัฒนาการเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่อง
6)พัฒนาการของคุณลักษณะต่างๆ มักจะสัมพันธ์กัน
2)พัฒนาการจะเริ่มจากส่วนใหญ่ไปสู่ส่วนย่อย
7)พัฒนาการของเด็กอาจทำนายได้
8)พัฒนาการที่เป็นปัญหาช่วงหนึ่งอาจเป็นพฤติกรรมที่ปกติของช่วงวัยอื่น
จุดมุ่งหมายของการศึกษาพัฒนาการมนุษย์
1)เข้าใจลักษณะธรรมชาติของมนุษย์
2)เข้าใจตนเองและผู้อื่น
3)สามารถเผชิญปัญหาที่เกิดขึ้นได้
4)สามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมพัฒนาการได้อย่างเหมาะสม
ประโยชน์ของการศึกษาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ
1)สามารถบรรยายบอกเล่าสิ่งที่ปรากฏที่ปรากฏได้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร
2)สามารถอธิบายเหตุการณ์ที่ปรากฏขึ้นมาได้ว่า มีสาเหตุมาจากอะไร แล้วผลที่จะตามมาจะเป็นอย่างไร
3)สามารถทำนายหรือบอกเหตุการณ์ที่จะเกิดล่วงหน้าได้
4)สมารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างสูงสุด โดยการปรับปรุงธรรมชาติ สภาพทางสังคม และบุคคลให้อยู่ในแนวที่ตนเองควบคุมได้
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลในจิตวิทยาพัฒนาการ
1)การสังเกต
2)การสัมภาษณ์
3)การทดลอง
4)กาเขียนอัตชีวประวัติ
5)การเขียนเรียงความ
6)การเขียนบันทึกประจำวัน
7)การเขียนอนุทิน
8)การแบบสอบถามหรือแบบสำรวจ
9)วิธีการศึกษาเด็กเป็นรายกรณี
10)การระบายความในใจ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการมนุษ์
ปัจจัยภายใน
1)พันธุกรรม
2)เพศ
ปัจจัยภายนอก
1)สิ่งแวดล้อม
2)อาหาร
3)ครอบครัวและวิธีการเลี้ยงดูเด็ก
4)สภาพทางสังคม
5)วัฒนธรรม
ุ6)สถานภาพทางเศรษฐกิจ
7)ความเจ็บป่วย
8)สภาพภูมิศาสตร์
พฤติกรรมการดูแลตนเอง
การกระทำต่อตนเอง เพื่อรักษาชีวิตสุขภาพ สวัสดิภาพของตนเอง ที่บุคคลจะสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
ประเภทของการดูแลตนเอง
1)การดูแลตนเองที่จำเป็นทั่วไป
2)การดูแลตนเองที่จำเป็นตามระยะพัฒนาการ
3)การดูแลตนเองที่จำเป็นเมื่อมีภาวะเบี่ยงเบนทางด้านสุขภาพ
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ รหัสนักศึกษา 6203400086