Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีที่ช่วยเรื่องการมีบุตรยาก, ฟีตัส, เอ็มบริโอ, การเปลี่ยนสัณฐาน,…
เทคโนโลยีที่ช่วยเรื่องการมีบุตรยาก
การทำ GIFT
กระตุ้นให้ไข่ตกและเก็บอสุจิ แล้วเอามาผสมกันในหลอดแก้ว แล้วจึงใส่กลับท่อนำไข่
การทำ ZIFT
กระตุ้นให้ไข่ตกและเก็บอสุจิ แล้วเอามาผสมกันในหลอดแก้ว แล้วเลี้ยงไว้ในห้องปฏิบัติการก่อน แล้วจึงใส่กลับท่อนำไข่
การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
กระตุ้นให้ไข่ตกและเก็บอสุจิ แล้วเอามาผสมกันในหลอดแก้ว แล้วเลี้ยงไว้ในห้องปฏิบัติการก่อน แล้วจึงใส่เข้าไปในโพรงมดลูก
ฟีตัส
ช่วงสัปดาห์ที่ 2
Ectoderm
ระบบประสาทต่าง ๆ/ผิวหนัง
Endoderm
ระบบทางเดินอาหาร/หายใจ
Mesoderm
ระบบอื่น ๆ/โครงกระดูก
ช่วงสัปดาห์แรก
เอ็มบริโอจะสร้างถุงคอเรียนและพัฒนาไปเป็นรก
ช่วงสัปดาห์ที่ 3
หัวใจเริ่มเต้นเป็นจังหวะ
ช่วงสัปดาห์ที่ 4
อวัยวะต่าง ๆ เริ่มเจริญและจะครบตอน 8 สัปดาห์
ช่วงสัปดาห์ที่ 8-9
นิ้วมือ/เท้าเริ่มเจริญ ในช่วง 3 เดือนสุดท้ายจะมีระบบประสาทที่เจริญ
เอ็มบริโอ
ระยะการเจริญเติบโต
Clevage
คล้ายน้อยหน่า ตัวอ่อนเรียกว่า Morula
Blastulation
เรียงตัวด้านบอก ตัวอ่อนเรียกว่า Blastula
Gastrulation
สร้างเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ตัวอ่อนเรียกว่า Gastrula
Organogenesis and Morphogenesis
เกิดระบบประสาท ตัวอ่อนเรียกว่า Nerula
ถุงน้ำคร่ำ
ป้องกันการกระทบกระเทือน
ถุงแอแลนทอยส์
แลกเปลี่ยนแก๊สกับของเสีย
รก
รับอาหาร แลกเปลี่ยนแก๊ส
สายสะดือ
หุ้มเส้นเลือดใหญ่กับเอ็มบริโอ
การเปลี่ยนสัณฐาน
การเปลี่ยนแบบค่อยเป็นค่อยไป (Gradual Metamorphosis)
การเปลี่ยนแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Metamorphosis)
การเปลี่ยนแบบสมบูรณ์ (Complete Metamorphosis)
ไม่มีการเปลี่ยนสัณฐาน (Ametamorphosis)
การเจริญเติบโต
กระบวนการเจริญเติบโต
การเพิ่มจำนวน
การเพิ่มขนาด
การเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่ต่าง ๆ
การเกิดรูปร่างแน่นอน
การวัดการเจริญเติบโต
การวัดน้ำหนัก
การวัดความสูง
การวัดปริมาตร
การนับจำนวนเซลล์
การคลอด
ขั้นตอนการคลอด
กล้ามเนื้อมดลูกหด ถุงน้ำคร่ำแตก (Dilation)
ทารกคลอดออกมา (Expulsion)
รกถูกขับออกมา (Placenta)
ตอนคลอด Progesterone จะลดลง แต่ Estrogen, Prostaglandins, Oxytocin, และ Relaxin จะเพิ่มขึ้น