Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจล้มเหลว (respiratory failure) - Coggle Diagram
ภาวะหัวใจล้มเหลว (respiratory failure)
การวินิจฉัย
จากประวัติมีสาเหตุหรือมีองค์ประกอบที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหายใจล้มเหลวมีอาการของการคั่งของออกซิเจนและภาวะขาดออกซิเจนเจาะเลือดหาความดันก๊าซในเลือดแดง (Arterial blood gas) พบว่ามี PaCO2 สูง และ PaO2 ต่ำ
ความหมาย
เป็นภาวะที่ปลอดไม่สามารถทำงานแลกเปลี่ยนออกซิเจนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและมีผลให้เกิดการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และเกิดภาวะออกซิเจน (O2)ในเลือด
พยาธิสรีระ
เมื่อร่างกายมีภาวะหายใจล้มเหลวจะมีความดันออกซิเจนในเลือดแดงต่ำ (Hypoxemia) หรือ PaO2ต่ำ ในระยะแรกและตามมาด้วยความดันคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (hypercapnia) หรือPaCO2สูง
Hypoxemia
กระตุ้นซิมพาเทติกทำให้มีชีพจรเร็ว ความดันเลือดสูงเหงื่อออก กระสับกระส่าย อาจมีหัวใจเต้นผิดจังหวะ
กระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจทำให้มีอาการหายใจเร็วและลึก กล้ามเนื้อหายใจทำงานมากขึ้นทำให้เหนื่อยง่าย
เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายลดลง ทำให้ระดับความรู้สึกตัวลดลงมีอาการชัก หายใจผิดปกติและหยุดหายใจในที่สุด หัวใจบีบตัวลดลงหัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันเลือดต่ำ
hypercapnia
กระตุ้นซิมพาเทติกทำให้มีชีพจรเร็ว ความดันเลือดสูง ในระยะแรกเป็นศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้มีอาการหายใจเร็วและลึก
หลอดเลือดทั่วร่างกายขยายตัว ทำให้ความดันโลหิตต่ำในระยะแรก ผิวหนังแดงอุ่น และมีหลอดเลือด ในสมองขยายตัวทำให้มีอาการปวดศีรษะ
กดการทำงานของสมองทำให้มีอาการสับสน ซึม ง่วงนอน หมดสติ และกล้ามเนื้อกระตุก
กดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจทำให้หัวใจบีบตัวลดลงและหัวใจเต้นผิดจังหวะ
สาเหตุ
หอบหืด หลอดลมอักเสบรุนแรง
มีน้ำหรือลมในช่องเยื่อหุ้มปอด กล้ามเนื้อการหายใจเสียหน้าที่
หลอดลมตีบตัน
อาการ
หายใจลำบาก เหนื่อยหอบเขียว (Cyanosis) หากมีออกซิเจนข้างในเลือดมากผู้ป่วยจะมีอาการซึม หัวใจเต้นเร็วเหงื่อออกตามตัว อาจมีหมดสติ
การรักษา
รักษาตามสาเหตุ เช่น บรรเทาอาการติดตันของหลอดลมโดยให้ยาขยายหลอดลม เจาะน้ำในเยื่อหุ้มปอดออกหากมีน้ำมาก รักษาปอดอักเสบโดยใช้ยาปฏิชีวนะที่ไวต่อเชื้อ ให้ออกซิเจนซึ่งปกติให้ในความเข้มข้นสูง ยกเว้นในรายที่มีการอุดกั้นของหลอดลมเรื้อรังโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังและโรคถุงลมโป่งพองจะให้ออกซิเจนประมาณ 25-35 เปอร์เซ็นต์ เพื่อป้องกันการเกิด CO2 narcosis ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
จัดทำโดย
นางสาวอาภาพิชญ์ คำแก้ว
รหัสนักศึกษา 611410090-0
นางสาวศิญาพร เถาวัลย์ราช
รหัสนักศึกษา 6114100090-8
นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3
วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย