Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชการที่ 5 - Coggle Diagram
การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชการที่ 5
ปรับปรุงการปกครองประเทศตอนต้น
ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน หรือเรียกว่า เคาน์ซิล ออฟ สเตท และสภาที่ปรึกษาในพระองค์ หรือเรียกว่า ปรีวี เคาน์ซิล
สภามีหน้าที่ออกกฏหมาย และยกเลิกกฏหมาย
สภาดำเนินงานไปได้ไม่นานก็เกิด วิกฤตการณ์วังหน้า (เป็นความขัดแข้งระหว่างพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ) ปลายปี พ.ศ. 2417 แต่สามารถยุติลงได้
ปรับปรุงการปกครองตอนปลาย
ทรงเห็นว่าลักษณะการปกครองของไทยใช้มาแต่เดิมล้าสมัยไม่สอดคล้องกับความเจริญก้าวของบ้านเมือง พ.ศ. 2430
ทรงเริ่มการปฏิรูปการปกครองแผนใหม่ตามแบบตะวันตก โดยเฉพาะส่วนกลางมีการจัดแบ่งหน่วยงานการปกครองออกเป็น 12 กรม
ต่อมาเปลี่ยนไปใช้คำว่า กระทรวง แทนโดยประกาศสถาปากรม หรือกระทรวงต่างๆในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435
และยังได้ประกาศตั้งเสนาบดีเจ้ากระทรวงต่างๆ ขึ้น และยุบตำแหน่งอัครมหาเสนาบดี และเสนาบดีจตุสดมภ์ทุกตำแหน่ง
และมีสิทธิเท่าเทียมกันในที่ประชุมต่อจากนั้นได้ยุบกระทรวง และปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเสียใหม่เหลือไว้เพียง 10 กระทรวง ดังนี้
กระทรวงวัง
กระทรวงเมือง (นครบาล)
กระทรวงเกษตราธิการ
กระทรวงกลาโหม
กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงการต่างประเทศ
กระทรวงธรรมการ
กระทรวงยุติธรรม
กระทรวงโยธาธิการ
ทรงตระหนักถึงภัยตรายจากการแสวงหาอาณานิคมของประเทศมหาอำนาจตะวัันตก
ส่วนภูมิภาค
ได้ยกเลิกการจัดเมืองเป็นชั้น เอก โท ตรี จัตวา
เปลี่ยนเป็นการปกครองเทศาภิบาล คือ รวมหัวเมืองหลายๆเมืองเข้าด้วยกันเป็นมณฑลๆหนึ่ง
โดยมีข้าหลวงเทศาภิบาล เป็นผู้ปกครองมณฑล ขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย
การจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลนี้เป็นการรวมอำนาจการปกครองทั้งด้านเมือง และเศรษฐกิจเข้าสู่ส่วนกลาง ทำให้ปกครองหัวเมืองเป็นแบบเดียวกัน และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เเบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาค
อำเภอ
ตำบล
จังหวัด
หมู่บ้าน