Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รัฐไทยในดินแดนไทย - Coggle Diagram
รัฐไทยในดินแดนไทย
แคว้นโยนกเชียงแสน ( ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 16 )
เดิมชื่อ นาคพันธ์สิงหนวัตินคร ต่อมาเปลี่ยนเป็น โยนกนครธานีศรีช้างแส่น และจึงเป็นชื่อ แคว้นโยนกเชียงแสน
ตั้งเมืองที่ เชียงราย ริมแม่น้ำกก
การปกครอง โดยกษัตริย์ ซึ่งองค์แรกคือ พระเจ้าสิงหนวัติ มีกษัตริย์ปกครองต่อถึง 45 พระองค์
การรุกราน ชนพื้นเมืองกล๋อมดำ
การล่มสลาย ถูกคุกคามจากอาณาจักรพุกาม และภัยธรรมชาติ เมืองจึงถล่มจมลงกลายเป็นหนองน้ำขนาดใหญ่ พระเจ้าไชยสิริอพยพคนไปสร้างเมืองใหม่คือ ไตรตรึงส์
แคว้นหิรัญนครเงินยาง ( ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16 – พ.ศ. 1893 )
เกิดเมื่อ ปู่ลาวจง หัวหน้ากลุ่มคนบนดอยตุงนำบริวารมาสร้างเมืองที่แม่น้ำกก ก่อตั้งราชวงศ์ลวจักราช
การขยายอำนาจ ส่งลูกชายไปสร้างเมืองใหม่ และให้อภิเษกสมรสกับพระราชธิดารัฐอื่น เป็นการสร้างสัมพันธ์ทางเครือญาติ
กษัตริย์ มี 25 พระองค์
การสิ้นสุด พระยามังรายรวบรวมเมืองใกล้เคียง ( อ้างสิทธิ์สายเลือด ) สร้างเป็นเชียงราย ( ราชธานีใหม่ ) ขยายอำนาจถึงสร้างราชธานีใหม่ในลุ่มน้ำปิง ยึดแคว้นหริภุญชัย ( ส่งไส้ศึกไปอยู่ ) ไปสร้างเมือง เวียงกุมกาม ( อยู่แถวเชียงใหม่ ) แล้วก็สร้างนพบีรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ เกิดอาณาจักรล้านนา แคว้นหิรัญนครเงินยางกลายเป็นส่วนหนึ่งของล้านนาไป
แคว้นพะเยา ( พ.ศ. 1640 - 1881 )
ศูนย์กลางอยู่ที่ เมืองพะเยา ( เชิงดอยแม่น้ำอิง )
เชื้อสาย ขุนจอมธรรมเป็นเชื้อสายของปู่ลาวจง
ความสัมพันธ์ พระยางำเมือง เรียนวิชาสำนักสุกทันตฤาษีกรุงละโว้ ร่วมสำนักกับพ่อขุนรามคำแหง อาณาจักรสุโขทัย และพระยามังราย แห่งแคว้นหิรัญนครเงินยาง
การรุกราน พระยามังรายจะยึดพะเยา พระยางำเมืองเจรจายอมยกเขตแดนคน 500 หลังคาเรือนให้ ต่อมาสหายทั้ง 3 พระองค์ทำสัญญาเป็นมิตรกัน เมื่อพระยางำเมืองสวรรคตความสัมพันธ์นี้ก็เสื่อมลง
อาณาจักรล้านนา ( พ.ศ. 1839 - 2442 )
ยุคต้น
พระยามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่ ( ราชธานี ) ลำพูนเป็นศูนย์กลางทางศาสนาพุทธ และเชียงรายเป็นเมืองอุปราช
พื้นที่ ทิศเหนือ ติด เชียงรุ่ง เชียงตุง ทิศตะวันออก ติดแม่น้ำโขง แต่ไม่รวมปัว น่าน แพร่ ทิศใต้ติดลำปาง ทิศตะวันตก ติดแม่น้ำสาละวิน
การปกครอง ทรงตรากฎหมายที่เรียกว่า “ มังรายศาสตร์ ”
ศาสนา สร้างเจดีย์กู่คำหลวง วัดเจดีย์เหลี่ยม (เวียงกุกกาม) พระอารามจัดกานโดม ( วัดช้างคำ )
สิ้นพระชนม์ พ.ศ. 1854
ยุคเสื่อม
ในสมัยพระยาเกศครองราชย์จนถึงช่วง พ.ศ. 2101 เกิดความเสื่อมถอยและการตกเป็นประเทศราชของพม่า เหตุเพราะปัจจัยภายใน ความสัมพันธ์ทางเครือญาติลดความสำคัญลง ขุนนางมาอำนาจ กษัตริย์อ่อนแอ เศรษฐกิจตกต่ำ และการขยายอำนาจของราชวงศ์ตองอู