Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ.2551 -…
บทที่ 9 กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ.2551
ภาพยนตร์
กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว
เทคโนโลยีการสื่อสารทางด้านภาพยนตร์
ยุคหนังเงียบ (ค.ศ.1908 - 1928)
ยุคหนังเสียง (ค.ศ.1929 - 1945)
ยุคของฟิลม์สตริปและภาพยนตร์เล่าเรื่องอย่างต่อเนื่อง (ค.ศ.1896 - 1907)
ภาพยนตร์ในปัจจุบัน (ค.ศ. 1946 - ปัจจุบัน)
ยุคบุกเบิก (ค.ศ.1815 - 1895)
ภาพนิ่ง หลายๆ ภาพเรียงติดต่อกันอย่างต่อเนื่องใช้หลักการที่เรียกว่า การเห็นภาพติดตา
:พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551
มาตรา 4
“สร้างภาพยนตร์” หมายความว่า การผลิต ถ่าย อัด บันทึก หรือทำด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อให้เป็นภาพยนตร์ “
“ร้านวีดิทัศน์” หมายความว่า สถานที่ที่จัดให้มีเครื่องมือ หรืออุปกรณ์ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกในการฉาย เล่น หรือดูวีดิทัศน์
“สื่อโฆษณา” หมายความว่า สิ่งที่ใช้เป็นสื่อในการโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์ แล้วแต่กรณี “
“วีดิทัศน์” หมายความว่า วัสดุที่มีการบันทึกภาพ
“ฉาย” หมายความว่า การนำภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์มากระทำให้ปรากฏภาพหรือภาพและเสียงด้วยเครื่องฉาย หรือเครื่องมืออื่นใด และให้หมายความรวมถึงการถ่ายทอดด้วย
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการภาพยนตร์และวีดิทัศน์แห่งชาติ
“หมายเลขรหัส” หมายความว่า หมายเลขที่กำหนดสำหรับภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์ที่ผ่านการ พิจารณาและได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการแล้ว
“กรรมการ” หมายความว่า กรรมการภาพยนตร์และวีดิทัศน์แห่งชาติ
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ.2551
มาตรา 3 ให้ยกเลิก
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 205 ลงวันที่ 9 กันยายน พุทธศักราช 2515
พระราชบัญญัติภาพยนตร์ (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2479
พระราชบัญญัติควบคุมกิจการเทปและวัสดุโทรทัศน์ พ.ศ. 2530
พระราชบัญญัติภาพยนตร์ พุทธศักราช 2473