Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาเเละมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาเเละมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการ
ส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การสร้างมนุษย
สัมพันธ์
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์ การส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก ส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
เเนวทางเเละข้อควรพิจารณาในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เเนวทาง
การพูดในเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ
การรู้จักยกย่องบุคคลอื่น
การเป็นผู้ฟังที่ดี
การรู้จักถ่อมตน
การจำชื่อ
การเข้าใจความรู้สึกผู้อื่น
การยิ้มเเย้มเเจ่มใส
การมีใจยุติธรรม
การสนใจในตัวบุคคลอื่น
ข้อควรพิจารณา
มีวัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา ระหว่างเพื่อร่วมงานเเละเกษตรกร
เเนวคิดเกี่ยวกับการ
สร้างมนุษยสัมพันธ์
ขอบเขต
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ภายในองค์การ ส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ภายนอกองค์การส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
เเนวคิดเเละทฤษฎีทางจิตวิทยาเเละ มนุษยสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม เเละพัฒนาการเกษตร
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาเเละมนุษยสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม เเละพัฒนาการเกษตร
จิตวิทยา
ความหมาย
การศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต
ความสำคัญ
ทำให้บุคคลรู้จัก เข้าใจ เเละยอมรับในตนเองมากขึ้น
ทำให้รู้จัก เข้าใจ เเละ ยอมรับในตัวผู้อื่นมากขึ้น
ช่วยให้คนในสังคมแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม
ประโยชน์
ต่อตนเอง
ต่อสังคม
มนุษยสัมพันธ์
ความหมาย
การติดต่อเกี่ยวข้องกันระหว่างบุคคลเพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อกัน เกิดความร่วมมือ ร่วมใจให้บรรลุเป้าหมาย
ความสำคัญ
การดำเนินชีวิตครอบครัว
การดำเนินชีวิต/การดำรงอยู่ของชีวิตทางสังคม
การดำเนินชีวิตในองค์การ
เศรษฐกิจ
การเมืองการปกครอง
การเรียนรู้
ประโยชน์
ช่วยเข้าใจธรรมชาติ เเละพฤติกรรมของคน
เข้าใจความต้องการของคนอื่น
เกิดการร่วมมือ ร่วมเเรง ร่วมใจ
เกิดความราบรื่นในการคบหาสมาคม
กระตุ้นให้บุคคลมีจิตใจดี
ช่วยลดความขัดเเย้ง
ช่วยชีวิตมีความสุข
เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ
เกิดขวัญ กำลังใจในการทำงาน
ช่วยให้พัฒนาประเทศเจริญก้าวหน้า
จิตวิทยาเกี่ยวกับการรับรู้ เเละการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบการเรียนรู้
สิ่งเร้า
การตอบสนอง
เเรงขับ
การเสริมเเรง
ลักษณะสำคัญ
การเรียนรู้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ
การเรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะ เพียงเเต่อาศัยวุฒิภาวะเป็นตัวประกอบ
การเรียนรู้หมายถึงการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมทุกชนิด
การเรียนรู้เป็นกระบวนการ
การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยในการปรับปรุงตนเอง
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญ
พฤติกรรมนิยม
ปัญญานิยม
ปัญญาสังคม
มนุษยนิยม
จิตวิทยาที่เกี่ยวกับเเรงจูงใจ การสื่อสาร เเละทัศนคติ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
เเรงจูงใจ
ความหมาย
ลักษณะ
ภายใน
ภายนอก
ความสำคัญ
ทฤษฎี
เน้นเนื้อหาการจูงใจ
เน้นกระบวนการจูงใจ
การสื่อสาร
ความหมาย
องค์ประกอบ
ผู้ส่งสาร สาร ช่องทาง ผู้รับสาร
ความสำคัญ
รูปแบบ/ทฤษฎี
SMCR ของเบอร์โล
เส้นตรง ของแชนนันและวีเวอร์
ชเเรมม์
การสื่อสาร
ความหมาย
องค์ประกอบ
ความรู้
ความรู้สึก
พฤติกรรม
ทฤษฎี
ความสอดคล้องกันในการรับรู้
การวางเงื่อนไข ให้แรงเสริม
สิ่งล่อใจ
ความขัดแย้งทางความคิด
ปรับตัวให้เข้ากับสังคม
การมีส่วนร่วม
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์ในการ
ส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
ทฤษฎีสองปัจจัย
ของเฮิร์ซเบิร์ก
ปัจจัยจูงใจ
ปัจจัยอนามัย
ทฤษฎีความต้องการของ มนุษย์
ทางสังคม
ความสำเร็จสมหวัง
ความมั่นคงปลอดภัย
ได้รับการยกย่อง
ทางกายภาพ
กลุ่มทฤษฎีเเรงจูงใจ
ทฤษฎีพุทธนิยม
ทฤษฎีมนุษยนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฎีความคาดหวัง
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีความเป็นธรรม
การประยุกต์เเนวคิดเเละทฤษฎีทาง
จิตวิทยาเเละมนุษยสัมพันธ์ไปใช้ใน การส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการรับรู้ เเละการเรียนรู้
การรับรู้
การสร้างความประทับใจระหว่างบุคคลตั้งเเต่ครั้งเเรกที่พบกัน
การสนับสนุนการตัดสินใจ
การส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มโดย
คำนึงถึงกฏการรับรู้ของกลุ่มเกสตัลท์
การเรียนรู้
การมีส่วนร่วมของผู้เรียน
การถ่ายโอนการเรียนรู้
ความพร้อมในการเรียนรู้
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับ เเรงจูงใจ การสื่อสาร เเละทัศนคติ
เเรงจูงใจ
ให้สอดคล้องกับความต้องการ
ให้สอดคล้องกับความคาดหวัง
ให้สอดคล้องกับสิ่งจูงใจ
การสื่อสาร
ขั้นความรู้ การชักชวน ตัดสินใจ นำไปปฏิบัติ เเละยืนยันการตัดสินใจ
ทัศนคติ
การเปลี่ยนทัศนคติต่อตนเอง
การเปลี่ยนที่ดีในการส่งเสริม
การประยุกต์หลักจิตวิทยา ไปใช้ในการส่งเสริมเเละ
พัฒนาการเกษตร
เป้าหมาย
เป็นกำลังใจให้เกษตรกร
เเสดงความพึงพอใจในตัวเกษตรกร
ส่งเสริมบรรยากาศที่ดี
ชมเชยเกษตรกร
หลักการใช้จิตวิทยา
เข้าใจการเปลี่ยนแปลงอัตมโนทัศน์
คำนึงถึงความพร้อมที่จะเรียนรู้
เข้าใจหลักการทำงานกับเกษตรกร รายบุคคล รายกลุ่ม เเละ มวลชน
การประยุกต์ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์
การสร้างเเรง จูงใจ
พฤติกรรมนิยม ความคาดหวัง ความเป็นธรรม
การตอบสนองความต้องการ ของเกษตร
ทฤษฎีความต้องการความสัมฤทธิผลของ
แมคเคลแลนด์
ทฤษฎีความต้องการคของมาสโลว์