Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
600-320 สื่อดิจิทัล :fire: :<3: - Coggle Diagram
600-320 สื่อดิจิทัล :fire: :<3:
บทที่ 4
พัฒนาการและความเป็นมาของเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษาเป็นสหวิทยาการที่รวมเอาศาสตร์ต่าง ๆ มาประกอบกัน
พฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Sciences)
วิทยาการจัดการ (Management Science)
วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Science)
เทคโนโลยีการศึกษา เริ่มต้นใช้คำว่า โสตทัศนศึกษา ต่อมาพัฒนาเป็นเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งการนำสื่อโสตทัศน์ และวิธีการเข้ามาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มีการนำทฤษฎีการสื่อสาร
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
การศึกษาตลอดชีวิต
เทคโนโลยีการศึกษาจึงถือเป็นเครื่องมือการศึกษา ที่มุ่งจัดระบบทางการศึกษาด้วยวิธีการแก้ปัญหาที่มองภาพแบบองค์รวมลักษณะของการดำเนินการแก้ปัญหา จะมุ่งวิเคราะห์สภาพการณ์ทั้งหมด :
ปีทศวรรษ
ในทศวรรษที่ 1800 มีการใช้มือวาด การเขียนสลักลงบนไม้ ส่วนการใช้ชอล์คเขียนบนกระดานดำ
ต้นทศวรรษที่ 1900 ใช้เทคโนโลยีทางสื่อโสตทัศน์
ในปี ค.ศ. 1913 มีการจัดสภาพห้องเรียนและการใช้สื่อการสอนประเภทต่างๆ เช่น ใช้สื่อการสอนประเภทต่างๆ เช่น ใช้สื่อภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี
ในช่วงทศวรรษที่ 1920 - 1930 เริ่มมีการใช้เครื่องฉายภาพแบบข้ามศีรษะ (overhead projector) เครื่องบันทึกเสียง วิทยุกระจายเสียง และภาพยนตร์
ค.ศ.1921 การเริ่มขออนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงในยุคแรก ๆ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา
ช่วงทศวรรษที่ 1950 วิทยุโทรทัศน์เกิดเป็นปรากฏการณ์ใหม่ในสังคมตะวันตกซึ่งสามารถใช้เป็นสื่อเพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
"การสื่อสารทางภาพและเสียง" หรือ "audio-visual communications"
ช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 โดย British Broadcasting Corporation หรือ BBC ในปี ค.ศ. 1958 ประเทศอิตาลีก็ริเริ่มบ้างโดยมีการสอนตรงผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์ผ่าน Telescuola
Telescuola (Television School of the Air)
พัฒนาการทางเทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
การศึกษาในปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาเพื่อพัฒนาปฏิรูปการจัดการศึกษาให้เท่าเทียบกับสากล
สภาพการเรียนการสอนในระบบหมายถึง การที่เทคโนโลยีการศึกษามีส่วนสนับสนุนการเรียนการสอนในระบบ ในชั้นเรียนที่มีหลักสูตรเฉพาะ
สภาพการเรียนการสอนนอกระบบ คือการเรียนการสอนที่มีหลักสูตรเฉพาะกลุ่มหรือหลักสูตรที่มีกรอบการเรียนค่อนข้างกว้างขวาง โดยไม่กำหนดระยะเวลาที่แน่นอน
สภาพการเรียนการสอนตามอัธยาศัย (Nonformal Education) หมายถึง การที่เทคโนโลยีการศึกษามีส่วนช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนตามอัธยาศัย เป็นการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลกลุ่ม ต่างๆ
บทที่ 5
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ความหมายของการเรียนรู้
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ “เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม” อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ
สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ความรู้ไม่ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว
แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing)
สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์นิยม
เป็นกระบวนการทางปัญญาที่มนุษย์มีการเชื่อมโยงระหว่างความรู้/ประสบการณ์เดิมเข้ากับความรู้/ประสบการณ์ใหม่แล้วจัดระบบในสมองเป็นความจำถาวร
สอดคล้องทฤษฎี
การเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
ความหมายของแหล่งเรียนรู้
แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์ของแหล่งเรียนรู้
พื่อพัฒนาความคิดริเริ่ม ความเป็นอิสระ ความรับผิดชอบการตัดสินใจ การแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ และทักษะการใช้วัสดุอุปกรณ์
พื่อพัฒนาทักษะด้านการค้นคว้า การอภิปราย การสนทนา การนำเอาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้
ประเภทของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้
ในโรงเรียน
ตามธรรมชาติ
บรรยากาศ
สิ่งแวดล้อม
มนุษย์สร้างขึ้น
ห้องสมุดโรงเรียน
ห้องโสตทัศนศึกษา
นอกโรงเรียน
ตามธรรมชาติ
ภูเขา
แหล่งน้ำ
มนุษย์สร้างขึ้น
ชุมชน
วิถีชีวิต
เครือข่ายการเรียนรู้
การศึกษาในเครือข่ายการเรียนรู้ นับเป็นการศึกษาแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Learning) เป็นการเรียนการสอนที่ ไม่จำกัดเวลา สถานที่ และบุคคล
เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดระบบการเรียน การสอน รูปแบบใหม่ในสถาบันการศึกษา
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก
เป็นการเรียนแบบร่วมกันและทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน และเน้นบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไป
เครือข่ายการเรียนรู้กับความเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
รูปแบบการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนเป็นหลักในการแสวงหา ค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเองมากขึ้นจาก แหล่งสารสนเทศต่างๆ ทั่วโลก
บทบาทของผู้สอน จากระบบเดิมที่เน้นให้ครูเป็นจุดศูนย์กลางของการเรียนการสอนเปลี่ยนไปสู่ระบบที่ครู เป็นเพียงผู้ชี้แนะหรือเป็นที่ปรึกษาในสาขาวิชาที่สอนโดยผ่านทางเครือข่าย
บทที่ 6 การประยุกต์ใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอน เพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน
1 สถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่
รูปแบบการเรียนรู้และระบบการศึกษา
ความต้องการของตลาดแรงงาน
อาชีพใหม่เกิดขึ้น
2 พฤติกรรมและความต้องการ การเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่
ทักษะความรู้ในการทำงาน
ทักษะชีวิตแลความรู้ในชีวิตประจำวัน
3 แนวโน้มอนาคต
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) จะทำให้เกิดการพัฒนาเปลี่ยนแปลงในทุกรูปแบบของช่องทางการเรียนรู้
การบูรณาการระหว่าง platform การเรียนรู้ที่มีการผสมผสานมากขึ้น
แนมโน้มการเกิดอาชีพใหม่ จะเกิดขึ้นจากรูปแบบการเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป
4 การนำมาใช้ในสังคมไทย
การนำ platform การเรียนรู้แต่ละชนิดมาปรับใช้ ควรคำนึงถึงการเลือกสื่อให้เหมาะสมกับความต้องการ
การส่งเสริมทาง moocs
FUTURE TREND แนวโน้มอนาคต
1 แนวโน้มด้าน AI
ความก้าวหน้าด้านปัญญาประดิษฐ์หรือ AI จะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในทุก platform แนวโน้มหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือการกำเนิดขึ้นของ AI
2 แนวโน้มด้าน Crowd sourcing
แนวโน้มการรวบรวมพลังและทรัพยากรจากฝูงชน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยน แบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ ซึ่งกันและกัน ช่วยให้บรรลุเป้าหมายต่างๆ ที่วางไว้ เช่น เว็บไซต์ที่มีการรวบรวมคำแปลภาษาต่างๆ
3 แนวโน้มบูรณาการระหว่าง Platform การเรียนรู้ออนไลน์
คือเข้าถึงเข้าถึงผู้คนให้ได้จำนวนมากที่สุด และสร้างประสบการณ์เรียนรู้ที่ราบรื่นมากที่สุด จึงมีแนวโน้มที่ platform หลากหลายอันจะหลอมรวมกัน เช่น MOOC
4 แนวโน้มการเกิดอาชีพใหม่
รูปแบบที่หลากหลายในการเรียนรู้จะทำให้เกิดอาชีพใหม่ๆ ยกตัวอย่างเช่น ครูชื่อดังที่มีชื่อเสียงในช่องทางของ MOOC
5 แนวโน้มอื่นๆ
ระบบการบันทึกข้อมูลการศึกษาจะเปลี่ยนไป เพื่อรองรับกลุ่มผู้เรียนแบบ MOOCs ที่มีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคตอย่างเช่นประกาศนียบัตรจิ๋ว (nanodegree)
บทที่ 7สารสนเทศ
การรู้สารสนเทศ
และการรู้เท่าทันสื่อ
สารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสารที่มีการจัดการบันทึกลงในสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อใช้ในการสื่อสารและการตัดสินใจ
ความสำคัญของสารสนเทศ
1 ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความเจริญก้าวหน้าพัฒนาประเทศชาติ
2 เป็นสิ่งจำเป็นต่อการวิจัยและพัฒนาสิ่งต่าง ๆ
3 ช่วยพัฒนาศักยภาพของคนในสังคม
การรู้สารสนเทศ (Information literacy)
หมายถึง กระบวนการทางปัญญาเพื่อสร้างความเข้าใจในความต้องการสารสนเทศ การค้นหา การประเมิน การใช้สารสนเทศ และการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การรู้สารสนเทศ จำเป็นต้องใช้ทักษะ
ความสำคัญ ช่วยให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสงบสุข เพราะสารสนเทศช่วยเสริมสร้างทักษะชีวิตการรู้สารสนเทศ เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของกระบวนการศึกษาทุกระบบ
ลักษณะของผู้เรียนที่เป็นผู้รู้สารสนเทศ
คือ การสร้างบุคคลให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นผู้ที่สามารถค้นหา ประเมิน และใช้สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Media Literacy การรู้เท่าทันสื่อ
ความหมายของการรู้เท่าทันสื่อ
การอ่านสื่อให้ออก เพื่อพัฒนาทักษะในการเข้าถึงสื่อ การวิเคราะห์สื่อ การตีความเนื้อหาของสื่อ การประเมินค่าและเข้าใจผลกระทบของสื่อและสามารถใช้สื่อให้เกิดประโยชน์ได้
ความสำคัญของการรู้เท่าทันสื่อ
มีสื่อเป็นตัวกลาง ที่เรียนรู้เกี่ยวกับโลก เกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น
SOCIAL MEDIA
แนวโน้มของ SOCIAL MEDIA
50% ของประชากรโลกมีอายุต่ำกว่า 30 ปี
ในอเมริกามีคนเรียกใช้ Facebook มากกว่า Google
SOCIAL MEDIA กับการศึกษา (ไทย)
นักเรียน 60% แสดงตัวตนผ่านอินเทอร์เน็ต
นักเรียน 40% มีการสนทนาทางการศึกษาแบบออนไลน์
นักเรียน 20% มีการสนทนาเกี่ยวกับงานที่ครูมอบให้ทำ
SOCIAL MEDIA ที่ได้รับความนิยม
Facebook
Line
Twitter
การเรียนการสอนโดยใช้ SOCIAL MEDIA
ด้านครู
1 พัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีของครู
2 เผยแพร่องค์ความรู้สู่สังคมออนไลน์
3 สร้างสังคมออนไลน์แห่งการเรียนรู้
ด้านนักเรียน
1 ส่งเสริมให้มีการใช้สื่อออนไลน์ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้
3 รู้เท่าทันภัยอันตรายทางอินเทอร์เน็ต
2 สามารถค้นหาข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูลสู่อินเทอร์เน็ตได้อย่างมีคุณภาพ
เครื่องมือ SOCIAL MEDIA
ที่นิยมใช้ในการจัดการเรียนการสอน
wordpress
1 เป็นเครื่องมือหลักที่จะรวบรวมสื่อจากเครื่องมืออื่นๆ
2 มีลักษณะเป็นเว็บส่วนตัว
3 รู้สึกว่าตนเองเป็นเจ้าของและอยากเข้าไปพัฒนา
4 เผยแพร่ผลงานสู่อินเทอร์เน็ตได้ง่าย
youtube
1 มีสื่อวีดีโอจำนวนมากที่สามารถนำมาจัดการเรียนการสอนได้
2 สื่อวีดีโอเป็นสื่อที่ศึกษาเรียนรู้และเกิดความเข้าใจได้ง่าย
3 มีบริการฝากไฟล์วีดีโอที่มีประสิทธิภาพ
slideshar
ฝากเอกสารและนำมาใช้ร่วมกับ Blog ได้ง่าย
แสดงผลไฟล์เอกสารหรือไฟล์นำเสนอได้บนเว็บไซต์
GoogleDocs
3 สร้างเอกสารบนอินเทอร์เน็ต (Docs, Presentation, Spreadsheet)
2 สร้างฟอร์มในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ง่าย
1 เก็บเอกสาร ไฟล์งานต่างๆ