Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
600-320 สื่อดิจิทัล :silhouettes: - Coggle Diagram
600-320 สื่อดิจิทัล :silhouettes:
บทที่ 4 พัฒนาการและความเป็นมาของเทคโนโลยีการศึการศึกษา :red_flag:
เทคโนโลยีการศึกษาเป็นสหวิทยาการที่รวมเอาศาสตร์ต่าง ๆ มาประกอบกัน ได้แก่ พฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Sciences) วิทยาการจัดการ (Management Science) และวิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Science)
เทคโนโลยีการศึกษา เริ่มต้นใช้คำว่า โสตทัศนศึกษา ต่อมาพัฒนาเป็นเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งการนำสื่อโสตทัศน์ และวิธีการเข้ามาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แนวคิดการสอนที่เปลี่ยนแปลงไปทั้ง Teacher Center Child Center หรือ Media Center รวมทั้งการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ การสอนผ่านเครือข่าย
เทคโนโลยีการศึกษามุ่งจัดระบบทางการศึกษาด้วยวิธีการแก้ปัญหาที่มองภาพแบบองค์รวมลักษณะของการดำเนินการแก้ปัญหา จะมุ่งวิเคราะห์สภาพการณ์ทั้งหมด ให้มีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน
เทคโนโลยีได้ถูกนำมาใช้ทางการศึกษานับตั้งแต่สมัยก่อนคริสตกาลการศึกษาพวกแรก คือกลุ่มโซฟิสต์ (The Elder sophist)
พัฒนาการแต่แต่ละปี ค.ศ.
ในช่วงทศวรรษที่ 1950 วิทยุโทรทัศน์เกิดเป็นปรากฏการณ์ใหม่ในสังคมตะวันตก
ปี ค.ศ. 1962 ประเทศจีนคอมมิวนิสต์ริเริ่มทำการสอนในวิชาต่างๆ เช่น เคมี ฟิสิกส์ในระดับมหาวิทยาลัย
ปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อโลกได้หันเข้ามาสู่ยุคของคอมพิวเตอร์ ในด้านการศึกษานั้น ได้มีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนเป็นครั้งแรกในปี 1977 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
ในปี ค.ศ. 1913 มีการจัดสภาพห้องเรียนและการใช้สื่อการสอนประเภทต่างๆ เช่น ใช้สื่อการสอนประเภทต่างๆ เช่น ใช้สื่อภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี
ยุคของมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาได้เริ่มขึ้นในปี 1987 เมื่อบริษัท APPLE ได้เผยแพร่โปรแกรมมัลติมีเดียครั้งแรกออกมา คือโปรแกรม HyperCard
พัฒนาการทางเทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
การศึกษาในปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาเพื่อพัฒนาปฏิรูปการจัดการศึกษา เข้าสู่กระบวนการทางกฎหมายการศึกษาคือ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เป็นกฎหมายว่าด้วยการศึกษาของชาติฉบับแรกของประเทศ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2542 เป็นต้นมา
การกำหนดรูปแบบของการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดกิจกรรมและพัฒนาการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญนั้นจะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
การจัดระบบเครือข่ายการเรียนรู้ที่ให้มีแหล่งความรู้ที่หลากหลาย สำหรับการค้นคว้าหาความรู้ทุก ๆ ด้านที่ผู้เรียนต้องการและเหมาะสมกับผู้เรียน
การปรับกระบวนการเรียนการสอน โดยเน้นให้ครูเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกและชี้แนะให้ผู้เรียนทำการศึกษาค้นคว้าคิด ตัดสินใจด้วยตนเอง
บทที่ 5 แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ :red_flag:
ความหมายของการเรียนรู้
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ “เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม” อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางปัญญาที่มนุษย์มีการเชื่อมโยงระหว่างความรู้/ประสบการณ์เดิมเข้ากับความรู้/ประสบการณ์ใหม่แล้วจัดระบบในสมองเป็นความจำถาวร
แหล่งเรียนรู้
แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวาง
วัตถุประสงค์ของแหล่งเรียนรู้
เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
เพื่อหาแนวทางการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ
เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณาตัดสินสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
พื่อจัดหาโอกาสทางการศึกษาอย่างอิสระ และศึกษาด้วยตนเอง
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ และทักษะการใช้วัสดุอุปกรณ์
เพื่อเป็นแรงดลใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการศึกษาตลอดชีวิต
ประเภทของแหล่งการเรียนรู้
ในโรงเรียน
ตามธรรมชาติ
บรรยากาศ
ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ
มนุษย์สร้างขึ้น
ห้องสมุด
ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการต่างๆ
นอกโรงเรียน
มนุษย์สร้างขึ้น
ชุมชน
ประเพณี
วัฒนธรรม
ตามธรรมชาติ
ป่า
ภูเขา
แหล่งน้ำ
เครือข่ายการเรียนรู้
การศึกษาในเครือข่ายการเรียนรู้ นับเป็นการศึกษาแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Learning) เป็นการเรียนการสอนที่ ไม่จำกัดเวลา สถานที่ และบุคคล
เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดระบบการเรียน การสอน รูปแบบใหม่ในสถาบันการศึกษา
เครือข่ายการเรียนรู้กับความเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
รูปแบบการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนเป็นหลักในการแสวงหา ค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเองมากขึ้นจาก แหล่งสารสนเทศต่างๆ
บทบาทของผู้สอน จากระบบเดิมที่เน้นให้ครูเป็นจุดศูนย์กลางของการเรียนการสอนเปลี่ยนไปสู่ระบบที่ครู
ห้องเรียน สำหรับผู้สอน ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอน คือ เครื่องคอมพิวเตอร์
บทบาทของผู้เรียน เปลี่ยนแปลงจากระบบเดิมที่นักเรียนเป็นเพียงผู้รับฟัง และปฏิบัติตามคำสั่งของครู ไปสู่ระบบที่นักเรียนต้องเป็นผู้แสวงหาด้วยตนเอง
บทบาทของการเรียนการสอน มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้
ศูนย์เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน
ฐานบริการข้อมูลการเรียน เป็นที่เก็บข้อมูลข่าวสารในรูปแบบต่างๆ
Student Homepage เป็นที่เก็บข้อมูล ข่าวสารของนักเรียน
ข้อดีในการนำแหล่งเรียนรู้ไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากของจริงทำให้เกิดประสบการณ์ตรง
ผู้เรียนเกิดความรักท้องถิ่นและเกิดความรู้ในการอนุรักษ์สิ่งที่มีคุณค่าในท้องถิ่น
บทบาทของครูผู้สอนในการใช้แหล่งเรียนรู้
ผู้จัดการ
ผู้ร่วมทำกิจกรรม
ผู้ช่วยเหลือหรือแหล่งวิทยาการ
ผู้สนับสนุนและเสริมแรง
ผู้ติดตามตรวจสอบ
บทที่ 6 การประยุกต์ใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน
สถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่
พฤติกรรมและความต้องการการเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่
แนวโน้มอนคต
การนำมาใช้ในสังคมไทย
FUTURE TREND แนวโน้มในอนาคต
แนวโน้มด้าน AI
ความก้าวหน้าด้านปัญญาประดิษฐ์หรือ AI จะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในทุก platform แนวโน้มหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือการกำเนิดขึ้นของ AI
แนวโน้มด้าน Crowd sourcing
แนวโน้มการรวบรวมพลังและทรัพยากรจากฝูงชน (Crowd sourcing) ซึ่งไม่ได้จำกัดอยู่เพียงการรวบรวมข้อมูลและสติปัญญาเท่านั้น แต่ยังรวมถึง แรงงาน เงินทุน ผู้คน ด้วย
แนวโน้มบูรณาการระหว่าง Platform การเรียนรู้ออนไลน์
ปัจจุบันแรงจูงใจของผู้ผลิตสื่อในแต่ละ Platform เริ่มเปลี่ยนแปลงเข้าสู่เป้าหมายเดียวกันมากขึ้น นั่นคือเข้าถึงเข้าถึงผู้คนให้ได้จำนวนมากที่สุด
แนวโน้มการเกิดอาชีพใหม่
รูปแบบที่หลากหลายในการเรียนรู้จะทำให้เกิดอาชีพใหม่ๆ ยกตัวอย่างเช่น ครูชื่อดังที่มีชื่อเสียงในช่องทางของ MOOCs นักจัดรายการเพื่อการเรียนรู้ทั้งบนสื่อวีดิทัศน์ (Youtube)
แนวโน้มอื่นๆ
ระบบการบันทึกข้อมูลการศึกษาจะเปลี่ยนไป เพื่อรองรับกลุ่มผู้เรียนแบบ MOOCs ที่มีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคตอย่างเช่นประกาศนียบัตรจิ๋ว (nanodegree) สื่อวีดีทัศน์และเกมจะมีลักษณะของการถ่ายทอดสดมากขึ้น
บทที่ 7 สารสนเทศ การเรียนรู้สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อเท็จจริง ความคิด ประสบการณ์ รวมถึงจินตนาการของมนุษย์
ความสำคัญของสารสนเทศ
สนับสนุนการวางแผนและนโยบายการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความเจริญก้าวหน้าพัฒนาประเทศชาติ
ช่วยในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพ
ช่วยติดตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงของโลก
ลักษณะสารสนเทศที่ดี
ความถูกต้อง
ความสมบูรณ์
ตรงกับความต้องการ
ตรวจสอบแหล่งที่มาได้
ความทันสมัยและทันต่อการใช้งาน
ประโยชน์ของสารสนเทศ
สารสนเทศก่อให้เกิดการพัฒนา
สารสนเทศก่อให้เกิดการศึกษา
สารสนเทศก่อให้เกิดการสืบทอดทางวัฒนธรรม
สารสนเทศก่อให้เกิดความเป็นเหตุเป็นผล
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เครื่องมือในการเก็บรวบรวม การจัดเก็บข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบ มีการประมวลผล วิเคราะห์ผลที่ประมวลได้จากข้อมูลนั้น สามารถเรียกหาได้อย่างรวดเร็ว
การรู้สารสนเทศ (Information Literacy)
การรู้สารสนเทศ (Information literacy) หมายถึง กระบวนการทางปัญญาเพื่อสร้างความเข้าใจในความต้องการสารสนเทศ การค้นหา การประเมิน การใช้สารสนเทศ และการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การรู้สารสนเทศ จำเป็นต้องใช้ทักษะ ต่างๆ
ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ
ความเข้าใจสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
ทำให้ผู้เรียนเป็นผู้มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เป็นเครื่องมือสำคัญในการเลือกใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพ
การดำรงชีวิตประจำวัน
องค์ประกอบของการรู้สารสนเทศ
ทักษะที่ 1 การกำหนดความต้องการสารสนเทศ (Task definition)
ทักษะที่ 2 การใช้กลยุทธ์ในการสืบค้นสารสนเทศ (Information seeking strategies)
ทักษะที่ 3 การกำหนดแหล่งสารสนเทศและการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ (Location and access)
ทักษะที่ 4 การใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (Use of information)
ทักษะที่ 5 การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)
ลักษณะของผู้เรียนที่เป็นผู้รู้สารสนเทศ
คือ การสร้างบุคคลให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long learner) เป็นผู้ที่สามารถค้นหา ประเมิน และใช้สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายของการรู้เท่าทันสื่อ
การรู้เท่าทันสื่อ คือ การอ่านสื่อให้ออก เพื่อพัฒนาทักษะในการเข้าถึงสื่อ การวิเคราะห์สื่อ การตีความเนื้อหาของสื่อ การประเมินค่าและเข้าใจผลกระทบของสื่อ
สื่อสังคมออนไลน์
คือ สื่อข้อมูล สารสนเทศ ภาพพื้นมัลติมิเดีย หรือสื่อดิจิทัล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ช่องทางการติดต่อแบบสามารถโต้ตอบ หรือแบ่งปันสื่อร่วมกัน ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
ความสำคัญของการรู้เท่าทันสื่อ
เราอยู่ในสังคมที่เรารับรู้โดยมีสื่อเป็นตัวกลาง สิ่งที่เราเรียนรู้เกี่ยวกับโลก เกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นหรือแม้แต่ค่านิยมต่างๆ
สื่อสมัยใหม่ได้รับการพัฒนาหลากหลายรูปแบบและได้กลายเป็นส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันของคนทุกรุ่นทุกเพศทุกวัยเราจึงควรเรียนรู้ที่จะเข้าใจสื่อว่ามีลักษณะที่สำคัญอย่างไรบ้าง
แนวทางการรู้เท่าทันและวิเคราะห์สื่อ
สื่อคือสิ่งที่สร้างขึ้น - Media are Constructions
สื่อคือสิ่งที่สร้างขึ้น - Media are Constructions
สื่อมีเป้าหมายทางธุรกิจ/โฆษณา - Media Constructions have Commercial purposes
สื่อสร้างค่านิยมและอุดมคติ - Media messages contain Values and Ideologies
สื่อทำให้มีผลที่ตามมาทางการเมืองและสังคม - Media Messages have Social and Political Consequences
สื่อแต่ละชนิดมีเอกลักษณ์และข้อจำกัด - Each Medium has a unique Aesthetic Form
SOCIAL MEDIA คืออะไร?
เครื่องมือ / เว็บไซต์ ที่ใช้ในการสื่อสาร รวบรวม และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต
ป็นเว็บ 2.0 ทุกคนสามารถแบ่งปันข้อมูล และติดต่อสื่อสารกันเป็นเครือข่าย
ทำไมต้องจัดการเรียนการสอนโดยใช้ SOCIAL MEDIA ?
ด้านครู
พัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีของครู
เผยแพร่องค์ความรู้สู่สังคมออนไลน์
ด้านนักเรียน
ส่งเสริมให้มีการใช้สื่อออนไลน์ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้
สามารถค้นหาข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูลสู่อินเทอร์เน็ตได้อย่างมีคุณภาพ