Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สื่อดอจอทัล :tada: : - Coggle Diagram
สื่อดอจอทัล :tada:
:
บทที่ 4 พัฒนาการและความเป็นมาของเทคโนโลยีการศึกษา
4.1 พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ทคโนโลยีการศึกษาเป็นสหวิทยาการที่รวมเอาศาสตร์ต่าง ๆ มาประกอบกัน
วิทยาการจัดการ (Management Science)
เกิดการนำเทคโนโลยีมาใช้ในวงการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษา
เริ่มต้นใช้คำว่า โสตทัศนศึกษา ต่อมาพัฒนาเป็นเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งการนำสื่อโสตทัศน์ และวิธีการเข้ามาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มีการนำทฤษฎีการสื่อสาร ทฤษฎีทางจิตวิทยาเข้ามามีส่วนทำให้เกิดการสอนแบบต่าง ๆ เทคโนโลยีการศึกษาจึงถือเป็นเครื่องมือการศึกษา ที่มุ่งจัดระบบทางการศึกษาด้วยวิธีการแก้ปัญหาที่มองภาพแบบองค์รวมลักษณะของการดำเนินการแก้ปัญหา ทคโนโลยีได้ถูกนำมาใช้ทางการศึกษานับตั้งแต่สมัยก่อนคริสตกาล มีการกล่าวถึงนักเทคโนโลยีทางการศึกษาพวกแรก คือกลุ่มโซฟิสต์ (The Elder sophist) ที่ใช้วิธีการสอนการเขียน
ในทศวรรษที่ 1800
มีการใช้มือวาด การเขียนสลักลงบนไม้ ส่วนการใช้ชอล์คเขียนบนกระดานดำ
ต้นทศวรรษที่ 1900 ใช้เทคโนโลยีทางสื่อโสตทัศน์(audio visual)
นปี ค.ศ. 1913 มีการจัดสภาพห้องเรียนและการใช้สื่อการสอนประเภทต่างๆ เช่น ใช้สื่อการสอนประเภทต่างๆ เช่น ใช้สื่อภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี สไลด์ ฟิล์ม วัตถุ และแบบจำลองต่างๆ และแบบจำลองต่างๆ เพื่อเสริมการบอกเล่าทางคำพูด ต่อ Thomas A. Edison ได้ผลิตเครื่องฉายภาพยนตร์ขึ้น
ในช่วงทศวรรษที่ 1920 - 1930 เริ่มมีการใช้เครื่องฉายภาพแบบข้ามศีรษะ (overhead projector) เครื่องบันทึกเสียง วิทยุกระจายเสียง และภาพยนตร์ เข้ามาเสริมการเรียนการสอนวิทยุกระจายเสียงจึงเป็นสื่อใหม่ที่ได้รับความนิยม
ราวปี ค.ศ.1921 การเริ่มขออนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงในยุคแรก ๆ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา
วงทศวรรษที่ 1930เริ่มมีการใช้วิทยุกระจายเสียงเพื่อการสอนทางไกล
ช่วงทศวรรษที่ 1950 วิทยุโทรทัศน์เกิดเป็นปรากฏการณ์ใหม่ในสังคมตะวันตกซึ่งสามารถใช้เป็นสื่อเพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปี ค.ศ. 1962 ประเทศจีนคอมมิวนิสต์ริเริ่มทำการสอนในวิชาต่างๆ
วิทยาศาสตร์กายภาพ
พฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Sciences)
4.2พัฒนาการทางเทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
ารกำหนดรูปแบบของการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
1.สภาพการเรียนการสอนในระบบ (Fonmal Education)หมายถึง การที่เทคโนโลยีการศึกษามีส่วนสนับสนุนการเรียนการสอนในระบบ
สภาพการเรียนการสอนนอกระบบ(Informal Education) หมายถึง การที่เทคโนโลยีการศึกษามีส่วนช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนนอกระบบ คือการเรียนการสอนที่มีหลักสูตรเฉพาะกลุ่มหรือหลักสูตรที่มีกรอบการเรียนค่อนข้างกว้างขวาง โดยไม่กำหนดระยะเวลาที่แน่นอน
ได้สะท้อนความตื่นตัวที่จะปฏิรูปการศึกษาโดยยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ซึ่งส่งผลดีต่อการจัดการศึกษาโดยภาพรวม
สภาพการเรียนการสอนตามอัธยาศัย (Nonformal Education) หมายถึง การที่เทคโนโลยีการศึกษามีส่วนช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนตามอัธยาศัย
บทที่ 5แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางปัญญาที่มนุษย์มีการเชื่อมโยงระหว่างความรู้/ประสบการณ์เดิมเข้ากับความรู้/ประสบการณ์ใหม่แล้วจัดระบบในสมองเป็นความจำถาวร
สอดคล้องทฤษฎี
การเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ “เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม” อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก
สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้ความรู้ไม่ใช่มาจาก ครูผู้สอนอย่างเดียวแต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing)
สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์นิยม
วัตถุประสงค์ของแหล่งเรียนรู้
เพื่อหาแนวทางการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ
เพื่อจัดหาโอกาสสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากสื่อ
เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
เพื่อจัดหาโอกาสทางการศึกษาอย่างอิสระ และศึกษาด้วยตนเอง
เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณาตัดสินสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ และทักษะการใช้วัสดุอุปกรณ์
เพื่อพัฒนาความคิดริเริ่ม ความเป็นอิสระ ความรับผิดชอบการตัดสินใจ การแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อพัฒนาทักษะด้านการค้นคว้า การอภิปราย การสนทนา การนำเอาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้
เพื่อเป็นแรงดลใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการศึกษาตลอดชีวิต
ลักษณะของแหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ที่เกิดเองตามธรรมชาติ
หล่งเรียนรู้ที่จัดทำ หรือสร้างขึ้น
อดีในการนำแหล่งเรียนรู้ไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากของจริงทำให้เกิดประสบการณ์ตรง
ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนเกิดความรักท้องถิ่นและเกิดความรู้ในการอนุรักษ์สิ่งที่มีคุณค่าในท้องถิ่น
บทบาทของครูผู้สอนในการใช้แหล่งเรียนรู้
ผู้จัดการ
ผู้ร่วมทำกิจกรรม
ผู้ช่วยเหลือหรือแหล่งวิทยากร
ผู้สนับสนุนและเสริมแรง
ผู้ติดตามตรวจสอบ