Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
esophageal cancer - Coggle Diagram
esophageal cancer
ปัจจัยเสี่ยง
-
-
-
-
-
-
-
ผู้ป่วยภาวะหลอดอาหารอักเสบเรื้อรัง (Barrett’s Esophagus) ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ประมาน 10 เปอร์เซ็นต์ของผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนชนิดรุนแรง
-
-
-
ผู้ป่วยโรคมะเร็งชนิดอื่น ๆ เช่น มะเร็งปอด มะเร็งช่องปาก มะเร็งลำคอ เป็นต้น ก็อาจเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งหลอดอาหารได้มากกว่า
อาการ
-
-
-
-
-
กลืนอาหารลำบาก โดยเฉพาะเมื่อรับประทานอาหารแข็ง เช่น เนื้อสัตว์ ขนมปัง หรือผักสด แต่เมื่อโรคลุกลามขึ้นจนก้อนมะเร็งไปอุดตันทางเดินอาหารก็จะทำให้เกิดอาการเจ็บ แม้แต่การดื่มน้ำ
-
ระยะของมะเร็ง
ขั้น 2 บี (Stage IIB): มะเร็งลุกลามไปเยื่อบุของหลอดอาหาร ร่วมกับมีการกระจายไปที่ต่อมน้ำเหลืองบริเวณก้อนมะเร็ง
ขั้น 3 (Stage III): มะเร็งลุกลามไปเยื่อบุด้านนอกของหลอดอาหาร หรือทุกชั้นของผนังหลอดอาหาร ร่วมกับมีการกระจายไปที่ต่อมน้ำเหลือง
-
-
-
-
-
การวินิจฉัย
การกลืนแป้ง (Barium swallow test) การตรวจนี้เป็นที่นิยมมาก การตรวจทำโดยให้ผู้ป่วยกลืนแป้ง หลังจากนั้นทำการเอกซเรย์ทรวงอกเพื่อตรวจหาตำแหน่งของการอุดตัน
การส่องกล้องตรวจทางเดินอาหารส่วนต้น เพื่อดูตำแหน่งของความผิดปกติ เพื่อตรวจวินิจฉัยมะเร็งหลอดอาหาร การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจส่วนใหญ่มักทำในระหว่างการส่องกล้อง
การส่องกล้องตรวจคลื่นความถี่สูง(EUS) มีความแม่นยำมากกว่า 90%ในการพยากรณ์โรคในเรื่องการลุกลามของมะเร็งไปที่ผนังหลอดอาหารและความแม่นยำมากกว่า75% ในการตรวจการแพร่กระจายของมะเร็งไปที่ต่อมน้ำเหลือง
-
การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ รวมถึงการถ่ายภาพช่องท้องส่วนบนเพื่อดูการแพร่กระจายของมะเร็งไปที่ตับและต่อมน้ำเหลืองในช่องท้อง
การส่องกล้องกล่องเสียง (ตรวจในลำคอ)และการส่องกล้องหลอดลม (ตรวจหลอดลมและทางเดินหายใจ) ขึ้นอยู่กับตำแหน่งและการลุกลามของมะเร็งหลอดอาหาร
การรักษา
การผ่าตัด ทำได้หลายวิธี เช่น การผ่าตัดนำเนื้องอกที่มีขนาดเล็กมากออกไป การผ่าตัดหลอดอาหารออกบางส่วน (Esophagectomy) และการผ่าตัดต่อหลอดอาหารกับกระเพาะอาหาร (Esophagogastrectomy)
การทำเคมีบำบัด เป็นการรักษาโดยใช้ยาเพื่อฆ่าเซลล์มะเร็ง อาจใช้ก่อนหรือหลังการผ่าตัด สามารถใช้รักษาร่วมกับการฉายแสง ซึ่งอาจช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา แต่อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้เช่นกัน
การฉายแสง เป็นการใช้รังสีพลังงานสูงเพื่อกำจัดเซลล์มะเร็ง อีกทั้งยังอาจใช้บรรเทาภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยมะเร็งหลอดอาหารที่ลุกลาม
ชนิดของมะเร็ง
มะเร็งหลอดอาหารชนิดสะความัส (Squamous Cell Carcinoma) เป็นชนิดที่พบมากที่สุด โดยมะเร็งเกิดขึ้นที่ชั้นผิวของหลอดอาหาร มักเกิดขึ้นบริเวณหลอดอาหารส่วนกลางหรือส่วนบน
มะเร็งหลอดอาหารชนิดอะดีโนคาร์สิโนมา (Adenocarcinoma) คือชนิดที่เริ่มเป็นมะเร็งในเซลล์ของต่อมผลิตเมือก มักเกิดขึ้นบริเวณหลอดอาหารส่วนล่าง
ความหมาย
เป็นมะเร็งที่เกิดขึ้นบริเวณหลอดอาหารซึ่งเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารและของเหลวตั้งแต่คอลงไปยังกระเพาะ เมื่อก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้น จะส่งผลให้หลอดอาหารแคบลง