Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปวดหลัง (Back pain) ปวดคอ (Neck pain) ปวดข้อ(Joint pain), : - Coggle…
ปวดหลัง (Back pain) ปวดคอ (Neck pain) ปวดข้อ(Joint pain)
Rheumatoid arthritis
ตรวจร่างกาย
มีค่า rheumatoid factor สูงขึ้นและ ค่าการอักเสบคือค่า CRP หรือ ESR ผิดปกติ
อาการข้ออักเสบแบบสมมาตร (symmetrical polyarthritis)
พบปุ่มรูมาตอยด์บริเวณใกล้ข้อ bony prominence หรือ extensor surface ของแขนขา
การรักษา
ขณะข้ออักเสบห้ามบีบนวด ห้ามประคบอุ่น
24 ชั่วโมงแรกประคบเย็นลดปวดได้
ให้ยาแก้ปวด paracetamol (500mg.) 2 tab prn q 4-6 hr.
ยาต้านการอักเสบ Ibuprofen (400mg.) 1 tab tid.pc.
แนะนําบริหารข้อเพื่อป้องกันข้อยึดติดและผิดรูป
ซักประวัติ
มีอาการเริ่มด้วยอ่อนเพลียเบื่ออาหารปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อและกระดูก
มีการอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุข้อ ตรวจร่างกายมีอาการข้ออักเสบของข้อขนาดใหญ่2-10 ข้อหรือข้อขนาดเล็กตั้งแต่1- 3 ข้อขึ้นไป
พบบ่อยในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย พบช่วงอายุ 20-50 ปี
(Gouty arthritis)
ตรวจร่างกาย
ข้อบวมเจ็บซึ่งเกิดขึ้นทันทีทันใดและหายภายใน 2 สัปดาห์
ระดับกรดยูริกในเลือดสูงกว่า 7 mg./dl. ในผู้ชายและมากกว่า 6 mg./dl. ในผู้หญิง
พบก้อนโทฟัส (tophus)
การรักษา
แนะนําดื่มน้ํามากๆ 2,500 ถึง 3,000 ซีml.ถ้าไม่มีข้อจํากัดจากภาวะไตเสื่อม
เลี่ยงอาหารที่มีพิวรีนสูง ได้แก่อาหารทะเล เครื่องในสัตว์เนื้อสัตว์เนื้อแดง ยอดอ่อนของพืช หน่อไม้ผักโขม ถั่ว งดเบียร์สุรา ลดเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น น้ําผลไม้น้ําอัดลม น้ําหวาน
ยาแก้ปวดและต้านการอักเสบ Ibuprofen (400mg.) 1 tab oral tid.pc.
ห้ามนวดทายาประคบร้อนหรือเย็นบริเวณที่มีการอักเสบของข้อ
ซักประวัติ
และมีประวัติ ครอบครัวเป็นโรคส่วนในเพศหญิงพบในวัยหลังหมด
ประจําเดือน
ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ กรรมพันธุ์การรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและเพียวรีนสูง
โรคเกาต์พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
มีประวัติดื่มเหล้าและเบียร์จัด เป็นโรคไตเสื่อม
(Osteoarthritis)
ตรวจร่างกาย
ตรวจดูพบข้อต่อมีขนาดใหญ่ขึ้น(joint enlargement) บางครั้งคําได้ปุ่มกระดูกงอก
คลําพบเสียงกรอบแกรบบริเวณข้อ (joint crepitation) บริเวณข้อที่เสื่อม
มีอาการข้อขัดเวลางอหรือเหยียดข้อข้อฝืดเวลาเหยียดใหม่ๆ สักพักอาการจะดีขึ้น นั่งยอง ๆแล้วลุกลําบาก อาการทุเลาเมื่อได้พัก
ปวดข้อแบบตื้อๆ มักเกิดตอนเช้าตรู่หรือตอนเย็น เกิดภายหลังจากการใช้ข้อ
ซักประวัติ
การใช้ข้อหักโหมมาก มักเป็นที่ข้อที่ต้องใช้งานหรือรับน้ําหนักเช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก กระดูกสันหลัง ข้อโคนนิ้วหัวแม่เท้า
โรคอ้วนทําให้ข้อต่อรับน้ําหนักมากเกินไป อาจเกิดข้อเสื่อมบริเวณเข่าและสะโพก
พบในผู้สูงอายุความสูงอายุทําให้มีการสร้างกระดูกอ่อนน้อยกว่าการทําลาย
โรคทางเมตบอลิก/โรคต่อมไร้ท่อ: acromegaly, hyperthyroidism, โรคเก๊าท์,
(osteoarthritis of hand)
ตรวจร่างกาย
ข้อที่พบบ่อย ได้แก่ ข้อนิ้วมือส่วนปลาย(distal interphalangeal
(PIP) joint), บ ริเว ณ โค น นิ้ ว โป้ ง ข้ อ นิ้ ว มื อ ส่ ว น ต้ น (Proximal interphalangeal),2nd แ ล ะ 3rd Metacarpophalangeal (MCP) joints
ส่วน Nodal OA จะพบทั้ง Heberden’s node และBouchard’s node นอกจากนี้ยังพบว่า ROM ลดลงและมี lateral deviation
การรักษา
Splints เพื่อลดอาการปวด โดยเฉพาะข้อเสื่อมบริเวณโคนนิ้วโป้ง
การออกําลังประกอบด้วยการทํา ROM และ strengthening exercise
Ibuprofen (400mg.) 1 tab oral tid.pc.
Paracetamol (500mg.) 2tab prn q 4-6 hr.
ซักประวัติ
เหลือเป็นกระดูกแข็งบวมขึ้นด้าน
posterolateral ของข้อนิ้วมือส่วนปลาย (Heberden’s node)
ในระยะแรกจะมีอาการปวด บวม ร้อน และชาตามข้อเป็นๆหายๆ 2-3 ปีอาการปวดจะทุเลาลงได้เอง
(cervical spondylosis)
ตรวจร่างกาย
หากมีการกดทับของไขสันหลังอาจมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อขากล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักและกระเพาะปัสสาวะอ่อนแรง
ระยะแรกตรวจไม่พบสิ่งปกติผิดปกติชัดเจน ต่อมาพบว่ากล้ามเนื้อแขนและมือฝ่อลีบลงอ่อนแรงมี
อาการชา รีเฟล็กซ์บริเวณข้อศอกและข้อมือน้อยกว่าปกติ
ซักประวัติ
เกิดจากการเสื่อมตามอายุทําให้ผิวข้อกระดูกสันหลังมีหินปูนหรือปุ่มงอก
ผู้ที่มีประวัติบาดเจ็บบริเวณคอมาก่อน
นั่งทํางานด้วยอิริยาบถที่ไม่ถูกต้องนานๆ
ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการปวดคอ เดินลําบากก้าวขาไม่สะดวก อาจมีอาการเกร็งยืนไม่มั่นคง
การรักษา
การใช้ความร้อนประคบ
นัดติดตามอาการ 1 สัปดาห์ ส่งต่อเมื่ออาการไม่ดีขึ้น
รักษาอาการปวดโดยให้ยา Ibuprofen (400mg.) 1 tab oral tid.pc.
โรคข้อสะโพกเสื่อม(osteoarthritis of hip)
ตรวจร่างกาย
การคลํา จุดกดกดเจ็บ การหนาตัวของเยื่อบุข้อ กระดูกงอก เสียงกรอบแกรบเวลาเคลื่อนไหว
ตรวจพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อ (ROM) และตรวจ Sign of 4 (Faber/Patrick test)เพื่อดูการ
อักเสบของข้อสะโพก
การดูลักษณะการเดิน ข้อบวม ข้อผิดรูป กล้ามเนื้อลีบ สังเกตการอักเสบเช่น บวมแดงร้อน
การรักษา
ลดน้ําหนักตัว เพื่อลดแรงกดบนข้อ
นอนหลับให้เพียงพอ ออกกําลังกายเบาๆที่ไม่กระแทกลงบนข้ออย่างสม่ํkเสมอ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิต ได้แก่ การใช้สะโพกอย่างถูกวิธี หลีกเลี่ยงการใช้งานข้อ
สะโพกมากเกินไป เช่น การยกของหนัก การงอหรือบิดสะโพกเกิน 90 องศา
ซักประวัติ
หากไม่รับการรักษาข้อสะโพกเสื่อม กระดูกอ่อนที่รองข้อสึกกร่อนเกิดกระดูกงอกรอบๆ ข้อ
อาการปวดสะโพกปวดร้าวไปที่ขาหนีบ ก้นหรือเข่า หากอาการปวดรุนแรงจนต้องอยู่นิ่งๆ ไม่
สามารถหมุนหรือเหยียดข้อสะโพกได้
มีอาการปวดร่วมกับอาการขัดที่ข้อ
เกิดอาการปวดรุนแรง เมื่อกระดูกเสียดสีกันและขาจะสั้นลงได้
(sprain)
ตรวจร่างกาย
ตรวจพบลักษณะข้อบวมแดงร้อนอาจพบรอยเขียวคล้ําหรือพกช้ําเนื่องจากมีการฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยร่วมด้วย
การรักษา
ใช้ elastic bandage พันรอบข้อเพื่อดึงลดการใช้ข้อและยกข้อที่แพลงให้สูง เช่น สอดหมอน
รองใต้ข้อเวลานอนหรือยกข้อสูงในท่านั่งไม่ห้อยขา
ระยะหลัง 48 ชั่วโมงประคบด้วยน้ําอุ่นจัดหรือแช่น้ําอุ่นครั้งละ 15-30 นาทีวันละ 2-3 ครั้งเพื่อ
ลดการอักเสบ
ในระยะ 48 ชั่วโมงแรก ประคบด้วยน้ําแข็งหรือน้ําเย็นทันทีเพื่อลดอาการบวมและปวด ทําทุก 3-4 ชั่วโมง
ถ้าปวดให้ยาแก้ปวดParacetamol หรือ Ibuprofen
ซักประวัติ
ผู้ป่วยจะมีอาการปวดบวมทันทีหลังได้รับบาดเจ็บ
จะเจ็บปวดมากขึ้นเมื่อเคลื่อนไหว
ข้อหรือถูกกดสัมผัส หากรุนแรงอาจส่งผลให้มีการฉีกขาดของเอ็นและสูญเสียความมั่นคงของข้อ
เกิดจากการเดินสะดุดหก
ล้มข้อเท้าพลิกหรือบิดงอ
(osteoarthritis of knee)
ตรวจร่างกาย
การคลํา จุดกดกดเจ็บ การหนาตัวของเยื่อบุข้อ ปริมาณน้ําในข้อ กระดูกงอก เสียงกรอบแกรบ
เวลาเคลื่อนไหว
การดูลักษณะการเดิน ข้อบวม ข้อผิดรูป กล้ามเนื้อลีบ สังเกตการอักเสบ เช่น บวมแดงร้อน
การรักษา
Ibuprofen (400mg.) 1 tab tid.pc.
นัดติดตามอาการ 1 สัปดาห์
Paracetamol (500mg.) 2tab prn q 4-6 hr.
ซักประวัติ
อาการปวด มีลักษณะปวดแบบตื้อๆไปบริเวณข้อไม่สามารถระบุตําแหน่งได้ชัดเจนมักเป็นเรื้อรัง
ข้อบวมและผิดรูป อาจพบขาโก่ง(bow leg, varus )หรือขาฉิ่ง(knock knee, valgus)
อาการข้อฝืด(stiffness) พบได้บ่อยมักพบตอนเช้าและไม่เกิน 30 นาที
พบเสียงกรอบแกรบ (crepitus) ในข้อเข่าขณะเคลื่อนไหว
: