Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน, นางสาวอาวาติฟ …
บทที่ 13
ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน
การบริหารจัดการห้องเรียนเป็นส่วนประกอบหลักของการฝึกหัดครูเป็นสิ่งที่ครูใหม่ควรปฏิบัติคือ
พัฒนาและประยุกต์ยุทธศาสตร์การสอนและทักษะการสอนที่เคยปฏิบัติใช้ในบริหารจัดการการ
เรียนรู้และพฤติกรรมของผู้เรียน
มีความตระหนักต่อการสอนที่มีพลวัตรในห้องเรียน
• เชื่อมั่นว่าการเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดขึ้นจากพฤติกรรมการสื่อสารระหว่างผู้เรียนอย่างมีนัยสำคัญ
ความหมาย
การบริหารจัดการ
:explode: รูปแบบของกระบวนการทำงานอันเป็นเรื่องราวที่ เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนจำนวนมากและเป็นศาสตร์อย่างหนึ่งอันเป็นความรู้ที่ทำให้ภารกิจบรรลุผลสำเร็จได้ด้วยดี
การบริหารจัดการในห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพมี 3 มุมมองสำคัญ
:<3: การบริหารจัดการห้องเรียนกับครูใหม่
:<3: การบริหารจัดการห้องเรียนกับการจัดการเรียนการสอน
:<3: มโนทัศน์ของการบริหารจัดการในห้องเรียน
การให้รางวัลและทำโทษ ครูควรกระทำสิ่งต่อไปนี้
:smiley: เชื่อมั่นว่าผู้เรียนทุกคนกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้
:smiley: ส่งเสริมให้รักเรียนมีวินัยต่อตนเอง เข้าใจตนเอง ประเมินตนเองและควบคุมตนเอง
:smiley: บ่มเพาะผู้เรียนให้เกี่ยวข้องและให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมห้องเรียน
:smiley: จัดห้องเรียนให้เคลื่อนไหวตลอดเวลาให้สัมพันธ์กับความรู้สึก
:smiley: สร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
:smiley: รูปแบบและการเสริมแรงมีคุณค่าต่อการให้ความเคารพ ความซื่อสัตย์
ความรู้ที่ใช้เป็นฐานในการบริหารจัดการห้องเรียนได้แก่
:tada: จัดให้มีข้อแนะนำเกี่ยวกับหลักการการ สอนต่างๆ
:tada: ความเข้าใจในการบริหารจัดการในห้องเรียน
:tada: ครูต้องคุ้นเคยกับ การจัดลำดับองค์ประกอบต่างๆที่สัมพันธ์กับโรงเรียน องค์ประกอบเหล่านั้น คือ
การวางแผน
:explode: ประวัติย่อของโรงเรียน
:explode: วัฒนธรรมโรงเรียน
:explode: แผนการสอน
:explode: ประวัติย่อของผู้เรียน
การบริหารจัดการด้านการสนับสนุน
เป็นมุมมองเกี่ยวกับองค์ประกอบ
ด้านกายภาพและจิตภาพ :red_flag:
การดำเนินการด้านสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีชีวิตชีวาดึงดูดความสนใจ :red_flag:
รวมถึงเจตคติของครู :red_flag:
ความคาดหวังของผู้เรียน :red_flag:
การสร้างความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับผู้เรียนและเพื่อนร่วมงาน :red_flag:
การบริหารจัดการด้านการป้องกัน
ครอบคลุมถึงการสอนแบบต่าง ๆ และทักษะการบริหารจัดการในห้องเรียน ความรู้และทักษะอื่น ๆ ที่ครูพึงมี :silhouette:
การบริหารจัดการด้านพฤติกรรม
:silhouette: เป็นมุมมองเกี่ยวกับการบริหารจัดการ พฤติกรรมทำลายความสงบเรียบร้อยและปฏิบัติตามวิถีทางของโรงเรียนด้านวินัยและการแนะแนว พฤติกรรม
บทบาทของครูในฐานะนักบริหารจัดการ โดยประเด็นที่สำคัญ 10 ประการ จัดเป็น 3 กลุ่มดังนี้
บทบาทด้านข้อมูล
บทบาทการกระจายหรือแจกจ่ายข้อมูล :pencil2:
บทบาทการให้ข้อมูล :pencil2:
บทบาทการรวบรวมข้อมูล :pencil2:
บทบาทด้านการตัดสินใจ
บทบาทนักแก้ปัญหา :check:
บทบาทเป็นนักแบ่งสรรทรัพยากร :check:
บทบาทเป็นผู้คิดริเริ่มกิจการ :check:
บทบาทในด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน
:no_entry: บทบาทเป็นผู้นำ
:no_entry: บทบาทเป็นคนกลาง
:no_entry:บทบาทเป็นพระอันดับ
นางสาวอาวาติฟ บินมามะ
รหัสนักศึกษา 6220160459
เลขที่ 24 กลุ่ม 6