Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการปวดข้อ - Coggle Diagram
กลุ่มอาการปวดข้อ
Osteoarthitis (โรคข้อเสื่อม)
Cervical Spondylosis (กระดูกคอเสื่อม/กระดูกคองอกกดรากประสาท)
การรักษาด้วยยา :star: ยาแก้ปวด Ibuprofen (400 mg.) 1 tab tid pc. การใช้ความร้อนประคบ นัดติดตามอาการ 1 สัปดาห์ ส่งต่อเมื่ออาการไม่ดีขึ้น
การซักประวัติ :pencil2: พบบ่อยในวัยกลางคนและสูงอายุ ทำให้มีอาการปวดต้นคอและมีอาการกดประสาท ทำให้มีอาการปวดร้าวหรือชา กล้ามเนื้ออ่อนแรงไปยังแขนและขา
การตรวจร่างกาย :silhouette: ระยะแรกตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติชัดเจน ต่อมาพบกล้ามเนื้อแขนและมือฝ่อลีบลง อ่อนแรงมีอาการชา รีเฟล็กซ์บริเวณข้อศอกและข้อมือน้อยกว่าปกติ อาจมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อขา กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักและกระเพาะปัสสาวะอ่อนแรง
อาการ :check: ปวดคอ เดินลำบาก ก้าวขาไม่สะดวก มีอาการเกร็ง ยืนไม่มั่นคง หกล้ม
Osteoarthitis of hand (โรคข้อเสื่อมของมือ)
การรักษาโดยไม่ผ่าตัด :silhouette: Splints เพื่อลดอาการปวด โดยเฉพาะเสื่อมบริเวณโค้นนิ้วโป้ง การแช่น้ำอุ่น การออกกำลังกายประกอบด้วยการทำ ROM และ Strengthening exercise
การรักษาด้วยยา :star: Paracetamol (500mg.) 2 tab prn q 4-6 hr. Ibuprofen (400mg.) 1 tab tid pc.นัดติดตามอาการ 1 สัปดาห์ ส่งต่อเมื่ออาการไม่ดีขึ้น ปวดรุนแรง ข้อบวมแดง ร้อน มีไข้
การซักประวัติ :pencil2: มักพบในวัยกลางคน หญิงวัยหมดประจำเดือน ในระยะแรกจะมีอาการปวด บวม ร้อน และชาตามข้อ เป็นๆหายๆ 2-3 ปี อาการปวดทุเลาลงได้เอง
Osteoarthri of knee (โรคข้อเข่าเสื่อม)
การซักประวัติ :pencil2: พบในผู้สูงอายุ มีการสร้างกระดูกอ่อนน้อยกว่าทำลาย การใช้ข้อหักโหม เช่น ข้อเข่าข้อสะโพก ปัจจัยทางพันธุพันธุกรรม โรคทางเมตาบอลิก
การตรวจร่างกาย :silhouette: ตรวจดูพบข้อต่อมีนาดใหญ่ขึ้น (Joint enlargement) บางครั้งคลำได้ปุ่มกระดูกงอก คลำพบเสียงกรอบแกรบบริเวณข้อ (Joint crepitation) บริเวณข้อที่เสื่อม มีอาการข้อขัดเวลางอหรือเหยียดข้อ ปวดข้อแบบตื้อๆ
การรักษาโดยการไม่ใช้ยา :star: ให้ความรู้ แนะนำการปฏิบัติตัว ลดน้ำหนัก
การรักษาด้วยการใช้ยา :warning: Paracetamol (500) 2 tab prn q 4-6 hr. Ibuprofen (400) 1 tab tid pc.
อาการ :check: อาการปวด ปวดตื้อๆไปบริเวณข้อ อาการข้อฝืด อาการข้อบวมและผิดรูป
Osteoarthritis of hip (โรคข้อสะโพกเสื่อม)
การตรวจร่างกาย :warning: มีจุดมุ่งหมายเพื่อลดอาการปวด ป้องกันการยืดติดและเพิ่มสมรรถภาพในการใช้งาน การป้องกัน รักษาด้วยตนเองเบื้องต้น
การตรวจร่างกาย :silhouette: ดูลักษณะการเดิน ข้อบวม ข้อผิดรูป กล้ามเนื้อลีบ สังเกตการอักเสบ เช่น บวม แดง ร้อน การคลำ กดเจ็บ การหนาตัวของเยื่อบุข้อ กระดูกงอก เสียงกรอบแกรบเวลาเคลื่อนไหว ตรวจพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อ (ROM) และตรวจ Sign of 4 (Faber/Patrick test) เพื่อดูการอักเสบของข้อะโพก
การซักประวัติ :pencil2: โรคข้อสะโพกเสื่อมพบบ่อยในผู้สูงอายุโดยเฉพาะผู้ที่มีอายุตั้งแต่อายุ 50 ปีขึ้นไป มีอาการปวดร่วมกับอาการขัดที่ข้อ อาการปวดสะโพกปวดร้าวไปที่ขาหนีบ ก้นหรือเข่า หากอาการรุนแรงจนต้องอยู่นิ่งๆ ไม่สามารถเหยียดหรือหมุนข้อสะโพกได้
Rheumatoid arthritis (โรคข้อต่อที่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของเยื่อหุ้มข้อ)
การซักประวัติ :pencil2: พบมากในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย พบช่วง 20-50 ปี มีอาการอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุข้อ มีอาการเริ่มด้วยอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อตามกล้ามเนื้อและกระดูก มีข้อฝืดขัดตอนเช้านานกว่า 1 ชั่วโมง
การตรวจร่างกาย :silhouette: มีค่า Rheumatoid factor สูงขึ้นและการอักเสบค่า ESR สูงผิดปกติ มีการอักเสบนานเกิน 6 สัปดาห์ มีการอักเสบที่ข้อโคนนิ้วมือและะเท้า พบตุ่มรูมาตอยด์บริเวณใกล้ข้อ bony prominence
การรักษา :star:ขณะข้อเสบห้ามนวด ห้ามประคบอ่น 24 ชม. ช่วงแรกประคบเย็นลดปวดได้ ให้ยาแก้ปวด Paracetamol (500mg.) 2 tab prn q 4-6 hr. ยาต้านการอักเสบ Ibuprofen (400mg.) 1 tab tid pc. แนะนำการบริหารข้อเพื่อป้องกันข้อผิดรูป ส่งต่อภายใน 1 สัปดาห์ หากไม่ดีขึ้น
Gouty arthritis (โรคเกาต์)
การตรวจร่างกาย :silhouette: ข้อเจ็บทันทีทันใดภายใน 2 สัปดาห์ ระดับกรดยูริกในเลือดสูงกว่า 7 mg./dl ในผู้ชายและมากกว่า 6 mg./dl ในผู้หญิง แรกๆอาการทางคลินิคแบ่งได้เป็น 3 ระยะ ได้แก่ ข้ออักเสบเฉียบพลัน ระยะสงบ ระยะเรื้อรัง
การซักประวัติ :pencil2: พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง อายุระหว่าง 30-60 ปี หญิงวัยหมดประจำเดือน ดื่มสุราอาหารที่มีเพียวรีนสูง ไตเสื่อม
การรักษา :star: ยาแก้ปวดและต้านการอักเสบ Ibuprofen (400mg.) 1 tab tid pc. แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆ 2500-3000 ml.ถ้าไม่มีข้อจำกัดจากภาวะไตเสื่อม
Tendinitis/Tendosynovitis (เส้นเอ็นอักเสบปลอกหุ้มข้ออักเสบ)
เส้นเอ็นที่พบการอักเสบได้บ่อย ได้แก่ เส้นเอ็นที่ข้อไหล่ ข้อศอก ข้อมือ นิ้วมือ ข้อสะโพกและเอ็นร้อยหวายซึ่งการอักเสบอาจมีการอักเสบของปลอกหุ้มเอ็นอักเสบร่วมด้วยโรคที่พบได้ค่อนข้างบ่อยในวัยกลางคน ผู้สูงอายุ นักกีฬาหรือผู้ที่ทำกิจกรรมในท่าเดิมซ้ำๆเป็นประจำ
ข้อไหล่ติด (Frozen shoulder)
โรคข้อศอกนักเทนนิส (Tennis elbow)
เส้นประสาทมือถูกผังผืดรัดแน่น (Carpal tunnel syndrome)
โรคปลอกเอ็นหุ้มข้อมืออักเสบ (De Quervain's tenovaginitis )
โรคข้อไหล่นักว่ายน้ำ (Swimmer's shoulder/Rotator cuff tendinitis)
โรคนิ้วไกปืน/โรคนิ้วล็อก (Trigger Finger/Digital flexor tenosynovitis)
Sprain (ข้อเคล็ด ข้อแพลง)
เกิดได้บ่อยทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ข้อที่พบบ่อยคือข้อเท้า (Ankle sprain) เกิดจากสะดุดหกล้มข้อเท้าพลิกหรือบิดงอ นอกจากนี้ยังพบได้ที่ข้อเข่า ข้อไหล่ ข้อมือและข้อนิ้ว ทำให้เอ็นและข้อต่อมีการฉีกขาด ผู้ป่วยจะมีอาการปววดบวมทันทีหลังได้รับบาดเจ็บ จะเจ็บปวดมากขึ้นเมื่อเคลื่อนไหว