Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รายวิชาความเป็นครู บทที่ 7 พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562,…
รายวิชาความเป็นครู บทที่ 7
พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มาตรา 1
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562”
มาตรา 2
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา 3
ในพระราชบัญญัตินี้
“เด็กปฐมวัย” หมายความว่า เด็กซึ่งมีอายุต่ากว่าหกปีบริบูรณ์
“การพัฒนาเด็กปฐมวัย” หมายความว่า การดูแล การพัฒนา และการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย หญิงตั้งครรภ์ หรือผู้ดูแลเด็กปฐมวัย
“ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย” หมายความว่า บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ซึ่งเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
"สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย" หมายความว่า ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล้ฏ ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการหรือเด็กซึ่งมีความต้องการพิเศษ สถานรับเลี้ยงเด็ก และสถานสงเคราะห์ ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กซึ่งมีเด็กปฐมวัยอยู่ในความคุ้มครองดูแล หรือสถานพัฒนา เด็กปฐมวัยที่เรียกชื่ออย่างอื่น รวมทั้งโรงเรียน ศูนย์การเรียน หน่วยงานการศึกษา หรือหน่วยงานอื่น ของรัฐหรือเอกชน และสถาบันทางศาสนา ที่มีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กปฐมวัย
"คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรา 4
ให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 8
การจัดการเรียนรู้ต้องเป็นไปเพื่อเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัย แต่ต้องไม่เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการสอบแข่งขันระหว่างเด็กปฐมวัย
มาตรา 7
บิดา มารดา และผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้เด็กปฐมวัยซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการพัฒนา
มาตรา 6
ให้หน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
ที่เกี่ยวข้อง มีภารกิจร่วมกันดำเนินการเพื่อให้มีการพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรา 5
การพัฒนาเด็กปฐมวัยตามพระราชบัญญัตินี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้
(2)ให้เด็กปฐมวัยอยู่รอดปลอดภัยและได้รับความคุ้มครอง
(3)ให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน
(4)สร้างคุณลักษณะให้เด็กปฐมวัยมีอุปนิสัยใฝ่ดี มีคุณธรรม
(5)บ่มเพาะเจตคติของเด็กปฐมวัยให้เคารพคุณค่าของบุคคลอื่น
(6)ให้ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยได้รับความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการพัฒนาเด็กผฐมวัย
(1)ให้มารดาได้รับการดูแลในระหว่างตั้งครรภ์
หมวด 2 คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรา 9
ให้มีคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรา 10
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 9 (3) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ากว่าสามสิบห้าปี
(๓) ไม่เป็นหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต
(๔) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ
(๕) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
(๖) ไม่เป็นข้าราชการการเมือง
(๗) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ
มาตรา 11
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 9 (3) มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
มาตรา 12
นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 9(3)พ้นจากตาแหน่ง เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติ
(๔) ขาดประชุมคณะกรรมการสามครั้งติดต่อกัน
(๕) นายกรัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่
มาตรา 13
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 9(3) พ้นจากตำแหน่งก่อนวาระให้ดำเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตาแหน่งที่ว่างภายในหกสิบวัน
มาตรา 14
คณะกรรมการมีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา 15
การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา 16
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งที่ปรึกษาและคณะอนุกรรมการ เพื่อดำเนินการตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้
มาตรา 17
ให้มีคณะอนุกรรมการบูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวัยมีหน้าที่และอำนาจในการเสนอแนะและให้ความเห็นต่อคณะกรรมการ
มาตรา 18
ให้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม งานวิชาการ
หมวด 3 แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรา 19
ให้คณะกรรมการเสนอแผนพัฒนาเด็กปฐมวัยต่อคณะรัฐมนตรี
มาตรา 20
แผนพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรา 19 ต้องกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการใช้บังคับแผน การบริหารและพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรา 21
เมื่อได้มีการประกาศแผนพัฒนาเด็กปฐมวัยแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีหน้าที่ดำเนินการตามภารกิจที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรา 22
ให้คณะกรรมการติดตามให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีหน้าที่ปฏิบัติการตามแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย
หมวด 4 การพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรา 24
สถานพยาบาลของหน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือภาคเอกชนที่มีหน้าที่ให้บริการสาธารณสุขแก่หญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย
มาตรา 25
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีหน้าที่จัดการศึกษาให้แก่เด็กปฐมวัย ต้องจัดให้มี
การอบรมเลี้ยงดู เพิ่มพูนประสบการณ์
มาตรา 28
เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน อาจดำเนินการแบบบูรณาการโดยจัดให้มีบริการสาธารณสุข จัดการศึกษาหรือจัดสวัสดิการและให้บริการด้านการคุ้มครองสิทธิแก่เด็กปฐมวัยในหน่วยงานเดียวกันได้
มาตรา 27
นอกจากการดำเนินการตามมาตรา 24 มาตรา 25 และมาตรา 26 หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ที่มีหน้าที่ให้บริการสาธารณสุข จัดการศึกษา และจัดสวัสดิการและให้บริการด้านการคุ้มครองสิทธิแก่เด็กปฐมวัย
มาตรา 23
ในการผลิตครูหรือพัฒนาครูด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้สถาบันอุดมศึกษาจัดให้มีการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างจิตวิญญาณของความเป็นครู
มาตรา 26
หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือภาคเอกชน ที่มีหน้าที่ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ให้ไว้ ณ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2562
บทเฉพาะกาล
มาตรา 29
ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการประกอบด้วย กรรมการตามมาตรา 9(1) และ (2) และให้เลขาธิการสภาการศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อน
มาตรา 30
ในวาระเริ่มแรก ให้สานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณให้แก่สำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องตามความจำเป็น
เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 31
ในระหว่างที่คณะกรรมการยังมิได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ตามมาตรา 27(2) ให้นำบทบัญญัติเกี่ยวกับการเข้าถึงสิทธิและได้รับโอกาสในการพัฒนาที่มีคุณภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ และบริการ
โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการพัฒนาเด็กปฐมวัย
รายวิชาความเป็นครู
พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562
นางธนิดา วงศ์สัมพันธ์ 6220160339 เลขที่ 1