Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คะแนนและการกำหนดผลการเรียน - Coggle Diagram
คะแนนและการกำหนดผลการเรียน
คะแนน
ความหมาย
คะแนนที่ได้รับจากการสอบวัดแต่ละครั้งนั้น
คะแนนที่ได้รับจากการสอบ
ข้อสอบที่ใช้ที่สอบในแต่ละครั้ง
การแปลความหมายของคะแนน
คะแนนดิบ
การแจกแจงแบบปกติ
คุณสมบัติบางประการของโครงปกติมีดังนี้
เป็นโครงที่ต่อเนื่องมีรูปทรงในลักษณะสมมาตร
เป็นโครงในลักษณะเอสซิมโทติค
มีส่วนสูงสุดของโค้งอยู่ในบริเวรกึ่งกลาง
ลักษณะของโค้งจะเปลี่ยนจากโค้งออกเป็นโค้งเข้า
พื้นที่ใต้โค้งปกติ
สาเหตุการเปลี่ยนแปลงคะแนนดิบเป็นคะแนนมาตรฐาน
1.คะแนนดิบเป็นคะแนนในมาตราฐานลำดับแรก
คะแนนดิบจะไม่สารารถระบุปริมาณได้อย่างชัดเจน
คะแนนดิบที่ได้จากไม่สามารถระบุของผู้สอบว่าเก่งหรืออ่อน
คะแนนดิบในแต่ละวิชาจะไม่สามารถรวม
คะแนนมารตราฐาน
ความหมายของคถแนนมารตราฐาน
ประเภทของคะแนนมารตราฐาน
คะแนนZ(Z-Score)
คะแนน T(T-Score)
คะแนนปกติ (Normalized T-Score
3.1 วิธีหาคะแนนที่ปกติได้จากคะแนนดิบให้เป็นเปอร์เซ็นไทล์
3.2 การกำหนดระดับคะแนนโดยใช้คะแนนปกติ 5 ระดับ
3.3 ประเด็นควรพิจารณาจากค่าคะแนนที่ปกติในแต่ละคะแนนแบบปกติ
ประโยชน์ของคะแนนมาตราฐาน
ทำให้คะแนนแต่ละข้อมีน้ำหนักเท่ากัน
คะแนนมาตราฐานจะระบุได้ว่าวิชานั้นผู้เรียนคนไหนเก่งคนไหนอ่อน
ทำให้คะแนนสามารถรวมกันได้เพราะมีหน่วยเท่ากัน
สามารถนำคะแนนมาตราฐานแสดงความสามารถของผู้เรียนในการแนะแนวได้เป็นอย่างดี
การกำหนดระดับผลการเรียน
ความหมายของระดับผลการเรียน
ประโยชน์ของผลการเรียนเฉลี่ย
ดัชชนีที่ชี้ภาพรวม
เป็นเกณฑ์เบื้องต้นการพิจารณา
การรายงานผลการประเมินการเรียน
ความหมายของการรายงานผลการเรียน
วิธีการรายงานผลการประเมินผลการเรียน
แนวทางปฏิบัติในรายงานผลการประเมินผลการเรียน
ประโยชน์ของรายงานผลการประเมินผลการเรียน
ข้อเสนอแนะในการรายงานผลการประเมินผลการเรียน
วัตถุประสงค์ของการกำหนดผลการเรียน
การใช้ระดับผลการเรียนเพื่อการบริหาร
การใช้ระดับผลการเรียนเพื่อสารสนเทศ
การใช้ระดับผลการเรียนเป็นแรงจูงใจในการเรียนรู้
การใช้ระดับผลการเรียนสำหรับการแนะแนว
แนวคิดพื้นฐานของการกำหนดผลการเรียน
มีความสอดคล้องของการวางแผน
การกำหนดน้ำหนักความสำคัญของการวัดผล
แนวทางการกำหนดระดับผลการเรียน
สัญลักษณ์ระดับผลการเรียน และความหมาย
วิธีการกำหนดระดับผลการเรียน