Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร แบบบูณาการระหว่าง รัฐ เอกชน…
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบบูณาการระหว่าง รัฐ เอกชน และประชาชน
องค์การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์การบริหารงานส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตรภาครัฐ
ส่วนราชการส่วนกลาง ส่วนท้องถิ่น
รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงาน
ที่ภาครัฐจัดขึ้นเพื่อการส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตรอื่น
องค์การบริหารงานส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตรภาคเอกชน
ผู้ประกอบการธุรกิจด้านการเกษตรเฉพาะราย
หรือการรวมตัวตามสาขาของผลิตภัณฑ์ และ
การรวมตัวกันของผู้ประกอบการในรูปแบบต่างๆ
องค์การบริหารงานส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตรภาคประชาชน
กลุ่มหรือสถาบันที่เกิดจากการรวมตัวของประชากร
ภาคการเกษตร ทั้งที่ภาครัฐสนับสนุนให้จัดตั้งขึ้น
และที่เป็นการรวมกลุ่มกันตามความต้องการของ
เกษตรกรในพื้นที่
การบริหารงานแบบบูรณาการ
แนวคิดการบริหารงานแบบบูรณาการ
เป็นการเชื่อมโยงระหว่าง
แนวความคิด สรรพกำลัง และทรัพยากร
การบริหารงานต้องอาศัยความร่วมมือกัน
ทิศทางและเป้าหมายเดียวกัน มีผู้รับผิดชอบ
ในการปฏิบัติและผลงานร่วมกัน
ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน
การทดลองและขยายผลการใช้แนวคิดการบริหาร
งานแบบบูรณาการในการบริหารราชการ
มีการทดลองดำเนินการในการปฏิรูประบบราชการ
ด้านรูปแบบและวิธีการบริหารราชการในพื้นที่ภูมิภาค
เมื่อปี พ.ศ. 2544 และขยายผลดำเนินการทั่วประเทศ
เมื่อปี พ.ศ. 2546
การบริหารงานแบบบูรณาการระหว่าง
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
มีการกำหนดแนวทางและระบบการบริหารไว้โดย
บทบัญญัติของกฎหมายและข้อสั่งการสำหรับ
ดำเนินการ มีการติดตามและประเมินผล เพื่อปรับปรุง
รูปแบบและวิธีการบริหารให้มีประสิทธิภาพตลอดมา
การบริหารงานส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตรแบบบูรณาการ
การนำแนวคิดการบริหารงานแบบบูรณาการมาดำเนิน
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรมีความเกี่ยวข้อง
กับปัจจัยและองค์กรภาคีเป็นจำนวนมากทั้งรัฐ เอกชน ประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร จึงได้กำหนดให้ดำเนินการบริหาร
แบบบูรณาการที่ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงทุกมิติ
ของการแก้ไข ปัญหา และการพัฒนาทั้งด้านแผนยุทธศาสตร์
สรรพกำลัง และทรัพยากรทางการบริหาร
กระบวนการบริหารงานส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตรแบบบูรณาการ
ยึดหลัก พื้นที่ พันธกิจ และการมรส่วนร่วม
รวมทั้งมีการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ แผนงาน
โครงการ ตั้งแต่ระดับประเทศถึงชุมชชน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการบริหารงานส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตรแบบบูรณาการ
ขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านประสิทธิภาพของระบบการบริหาร
ความสมบูรณ์ของทรัพยากร ประสิทธิภาพของกระบวน
การเกษตรกรรม รวมทั้งการเชื่อมโยงของ แนวความคิด
สรรพกำลัง และทรัพยากร ได้อย่างเป็นระบบ