Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 พยาธิสรีรวิทยาของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ, นางสาวชลนิภา กัมทอง …
บทที่5 พยาธิสรีรวิทยาของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การเกิดของกระดูก
Intramembranous ossification
กระดูกที่เกิดจาก membrane
Intracartilagenous ossification
การสร้างกระดูกตั้งแต่ทารกในครรภ์
กระบวนการก่อรูปกระดูก
ระยะที่1 ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งกระตุ้นต่างๆ
ระยะที่2 กัดกร่อนกระดูดให้เป็นรูปโคนข้างในเป็นโพรง
ระยะที่3 สร้างกระดูกใหม่โดย osteoblast
สมดุลระหว่างการสร้างและการสลายกระดูก
กระดูกใหม่ที่เกิดขึ้นจะวางตัวเป็นวงเรียงพลัดกัน
การสร้างกระดูกใหม่จะหยุดเมื่อเข้าใกล้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงกระดูกบริเวณนั้น
การแลกเปลี่ยนแคลเซียมระหว่างกระดูก
และของเหลวภายนอกเซลล์
กระดูกประกอบไปด้วยส่วนสำคัญของ
แคลเซียม สามารถแลกเปลี่ยนได
ช่วยรักษาสมดุลกับแคลเซียมให้อยู่ใน
สภาพสมดุล
ส่วนมากแคลเซียมสามารถแลกเปลี่ยนได้
โครงสร้างของกระดูก
ไขกระดูก (bone marrow)
กระดูกทึบ (compact bone) อยู่ด้านนอก เรียงตัวเป็นแผ่นซ้อนกัน
กระดูกพรุน (spongy bone)กระดูกด้านในสัมพันธ์กับไขกระดูก เรียงประสานกันเป็นร่างแห
ส่วนประกอบของกระดูก
ร้อยละ 10 เป็นน้ำ
ร้อยละ 30 เป็นสารอินทรีย์
ร้อยละ 60 ของกระดูกเป็นผลึกของเกลือ
การควบคุมการสร้างกระดูก
ฮอร์โมนเอสโตรเจน (estrogen)
พาราไทรอยด์ฮอร์โมน (Parahyroid hormone :PTH)
ฮอร์โมนแคลซิโทนิน (calcitonin)
วิตามินดีหรือ cholecalciferol
การบาดเจ็บของกระดูกและ
กล้ามเนื้อ
กระดูกหัก (skeletal facture) ภาวะที่กระดูกมีการ
แตกหัก อาจมีหรือไม่มีการเคลื่อนย้ายออกจากกัน
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อกระดูกหัก เยื่อหุ้มกระดูกและเส้นเลือดบริเวณส่วนนอก ไขกระดูกและเนื้อเยื่อจะฉีกขาดด้วย ทำให้มีเลือดออก เลือดที่แข็งตัวเกิดภายในโครงกระดูก เนื้อเยื่อที่ตายเหล่านี้จะกระตุ้นให้เกิดการอักเสบ
ข้อหลุดและข้อเลื่อน
(joint dislocation and sulduxation)
พยาธิสรีรวิทยา
ข้อเคลื่อนมีการเกิดร่วมกับกระดูกหัดเนื่องจากมีแรงมากระทำที่กระดูก ทำให้เกิดการบวมช้าเส้นเอ้นหรือเนื้อเยื่อฉีกขาด
ข้อเคล็ด (sprains) ข้อแพลง (strains)
ข้อเคล็ด : เกิดการฉีกขาดชนิดของเอ็นชนิดtendonและligament
ข้อแพลง : การฉีกขาดของกล้ามเนื้อหรือเส้นเอ็นชนิด tendon
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อมีการฉีกขาดจะเกิดการอักเสบและ
หลั่ง exudate ส่วนที่ฉีกขาดจะสร้าง granuation
Crapal Tunnel Syndrome (CTS)
อาการ
ปวดชาตั้งแต่ข้อมือลงไปถึง่ามือและ
นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนางบางส่วน
ความผิดปกติทางเมตาบอลิซึมของกระดูก (metabolic bone disease)
โรคกระดูกน่วม
เกิดจากความผิดปกติของเมตาบอลิซึมของกระดูกจากความไม่เพียงพอและความล่าช้าของการรวมตัวกันของแร่ธาตุ
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวด กดเจ็บที่กล้ามเนื้อกระดูก ปวดหลัง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ถ้าได้รับบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย อาจทำให้เกิดกระดูกหักได้
พยาธิสรีรวิทยา
การสร้างกระดูกต้องใช้แคลเซียมและฟอสฟอรัส เมื่อขาดวิตามินดี อาจมีสาเหตุมาจากลำไส้ดูดซึมวิตามินลดลง ทำให้แคลเซียมในพลาสมาลดลง
การหลั่งพาราไทรอยด์ฮอร์โมน มีผลทำให้ระดับแคลเซียมพลาสมาสูงขึ้น แต่ฟอสฟอรัสถูกขับออกทางไตมากขึ้น เมื่อฟอสฟอรัสต่ำลงจึงไม่สามารถสร้างกระดูกที่แข็งแรงได้
กลุ่มโรคติดเชื้อของกระดูก (osteomgelitis)
พยาธิสรีรวิทยา
แรกเริ่มเชื้อโรคจะกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองต่อการอักเสบในกระดูก ทำให้เกิดเส้นเลือดขอด บวม มีหนอง เมื่อเริ่มมีการอักเสบเส้นเลือดส่วนปลายเกิดการุดตัน มีการหลั่งสารคัดหลั่ง
วิธีการเคลื่อนที่ของเชื้อโรคเข้าสู้กระดูก
Endogenous osteomyelitis
Exogenous osteomyelitis
ความผิดปกติของข้อ (disorder of joint)
โรคข้อเสื่อม
การเสื่อมของกระดูกผิวข้อจากการเสียดสี การถูกทำลาย ทำให้กระดูกอ่อนผิวข้อบางลงกระดูกเกิดการเสียดสีกัน
พยาธิสรีรวิทยา
สูญเสียกระดูกอ่อนผิวข้อหรือมีการเสื่อม
ทรุดโทรมของผิวกระดูกอ่อน
อาการและอาการแสดง
อาการข้อติดแข็ง การพิการผิดรูปของเข่า เกิดความไม่สุขสบายในการใช้ชีวิตประจำวัน
นางสาวชลนิภา กัมทอง รหัสนักศึกษา : 634N46207